Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1874
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมุกดา หนุ่ยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรรณี ตปนียากร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุญสิตา นววัชรินทร์, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-27T04:19:35Z-
dc.date.available2022-10-27T04:19:35Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1874-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับภาวะผู้นำชั้นยอดของ หัวหน้าพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ (2) ระดับความเป็นองค์กรแห่งสติปัญญาของกลุ่ม การพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำชั้นยอดของ หัวหน้าพยาบาลกับความเป็นองค์กรแห่งสติปัญญาของกลุ่มการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาล วิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน ภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน ภาคใต้ ที่ปฏิบัติงานภายใต้การบังคับบัญชาของหัวหน้าพยาบาลคนปัจจุบันตั้งแต่, 1 ปีขื้นไป จำนวน 335 คน ได้มาจาก การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามซึ่งแบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 แบบสอบถามภาวะผู้นำชั้นยอดของ หัวหน้าพยาบาล และส่วนที่ 3 แบบสอบถามความเป็นองค์กรแห่งสติปัญญาของกลุ่มการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์หาค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม ได้ค่า สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ของส่วนที่ 2 และส่วนที่ 3 เท่ากับ 0.99 และ 0.97 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ภาวะผู้นำชั้นยอดของหัวหน้าพยาบาลตามการรับรู้ของ พยาบาลวิชาชีพ โดยรวมอยู่ในระดับสูง (2) ความเป็นองค์กรแห่งสติปัญญาของกลุ่มการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โดยรวมอยู่ในระดับสูง (3) ภาวะผู้นำชั้นยอดของหัวหน้าพยาบาล มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความเป็นองค์กรแห่งสติปัญญาของกลุ่มการพยาบาลในระดับสูงมาก (r = 0.840) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพ -- ไทย -- ภาคใต้th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลชุมชน -- ไทย (ภาคใต้)th_TH
dc.subjectการรับรู้th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำชั้นยอดของหัวหน้าพยาบาลกับความเป็นองค์กรแห่งสถิติปัญญาของกลุ่มการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน ภาคใต้th_TH
dc.title.alternativeThe relationship between super-leadership of nursing directors and intelligent organization of nursing departments as perceived by professional nurses at community hospitals in the Southern Regionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to study the super-leadership of nursing directors as perceived by professional nurses, (2) to investigate the intelligent organization of nursing departments, and (3) to find the correlation between the super-leadership of nursing directors and the intelligent organization of nursing departments at community hospitals in the southern region. Stratified random sampling was used for selecting 335 subjects from all professional nurses at community hospitals in the southern region who had worked for at least 1 year under their current nursing directors. The research tools used for collecting the data were questionnaires comprising 3 sections: (1) personal data, (2) the super-leadership of nursing directors, and (3) the intelligent organization of nursing departments. These questionnaires were tested for content validity and reliability. The Cronbach alpha reliability coefficient of the second and the third sections were 0.99 and 0.97 respectively. Data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, and Pearson product-moment correlation coefficient. The results of this study illustrated as follows. (1) Professional nurses rated super- leadership of their nursing directors at the high level. (2) They rated the intelligent organization of nursing departments at the high level. Finally, (3) there was a statistically significant positive correlation at high level between the super-leadership of nursing directors and the intelligent organization of nursing departments (r = 0.840, p < .001)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib114928.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.49 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons