Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1878
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิญญา วนเศรษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพอพันธ์ อุยยานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรุ่งทิวา เนตรหิน-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-27T06:23:05Z-
dc.date.available2022-10-27T06:23:05Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1878-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ) )--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปและมูลเหตุจูงใจหนี้สินของครูชั้น ประถมศึกษา 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการก่อหนี้สินของครูชั้นประถมศึกษา 3) เสนอ แนวทางการแก้ไขปัญหาการก่อหนี้สินของครูชั้นประถมศึกษา การศึกษาใช้ข้อมูลปฐมภูมิ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือรวบรวมข้อมูลจากกลุ่ม ตัวอย่างจำนวน 320 คน คือ ครูชั้นประถมศึกษา ในเขต อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ซึ่งได้จากการ สุ่มอย่างง่าย โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา บรรยายลักษณะของกลุ่มตัวอย่างในรูปค่าร้อยละ และ วิเคราะห์ข้อมูลใช้สมการถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีหนี้สินเฉลี่ยมากกว่า 1,000,000 บาท สาเหตุของ หนี้สินตามความคิดเห็นของครูส่วนใหญ่ คือ ความต้องการส่วนตัว คิดเป็นร้อยละ 46.38 รองลงมา เป็นการใช้จ่ายในครอบครัว หรือ ใช้จ่ายในการศึกษาบุตร คิดเป็นร้อยละ 36.50 รายได้ไม่เพียงพอ ต่อรายจ่าย คิดเป็นร้อยละ 9.50 เรื่องที่อยู่อาศัย คิดเป็นร้อยละ 3.42 โดยแหล่งการเงินที่กู้ยืมของครู ส่วนใหญ่ คือ สหกรณ์ออมทรัพย์ครู คิดเป็นร้อยละ 46.25 การผ่อนชำระหนี้สินเฉลี่ยต่อเดือนของ ครูส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 5,001 – 10,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 39.54 และสภาพรายรับกับรายจ่าย ของครูส่วนใหญ่ คือ รายรับไม่เพียงพอกับรายจ่าย คิดเป็นร้อยละ 76.56 ซึ่งจากการวิเคราะห์ พบว่าตัวแปรอิสระที่มีผลต่อปริมาณหนี้สินของครูชั้นประถมศึกษา ที่ระดับนัยสาคัญร้อยละ 5 ได้แก่ ระดับการศึกษา รายได้คู่สมรส ค่าใช้จ่ายการศึกษาบุตร และหนี้สินคู่สมรส ซึ่งแนวทางแก้ไข ปัญหาหนี้สินตามความคิดเห็นของครูส่วนใหญ่ คือ การขึ้นเงินเดือน หรือเพิ่มค่าตอบแทน คิดเป็น ร้อยละ 52.18 รองลงมาคือการให้รัฐบาลช่วยปล่อยเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ หรือไม่คิดดอกเบี้ย คิดเป็น ร้อยละ 41.25th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectครูประถมศึกษาth_TH
dc.subjectหนี้th_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการก่อหนี้สินของครูชั้นประถมศึกษาในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the debt of primary school teachers in Muang District, Nonthaburi provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe aims of this study were to 1) study the general condition and causes of primary school teachers, 2) study the factors affecting the debt creation of primary school teachers, 3) find the solutions for their the debt problem. In this study, primary data were used via the questionnaire, when were used a simple random is ample and collected from 320 primary school teachers in Muang District, Nonthaburi province. The Descriptive statistics were presented as percentages, and the evalution analysis explained the relationship among the variables using a multiple regression. The resutls revealed that the teachers had the average debts more than 1,000,000 baht per person. The major causes were including ; the personal needs about 46.38 percent, Family spending and children education cost 36.50 percent, Insufficient income 9.50 percent and housing cost 3.42 percent, The major loans were mostly from the Teacher saving & credit co-operation limited 46.25 percent. The average debt payment per month was around 5,001 - 10,000 or 39.54 percent. The income and expenses of the teachers which the income was not enough to cover the expenses 76.56 percent. From the correlation coefficient analysis, the independent variables statistically significant affected the amount of the teachers debt at 0.05. These were the education level, the spouse incomes, the education expense and spouse debts. The solution for these problems, which data were obtained from teachers opinion, were mainly the salary increment or increase extra payment 52.18 percent. The government should reduce the loans with a lower interest of no interest 41.25 percenten_US
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159652.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons