Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1879
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจิตรา รอดสมบุญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอติกานต์ วงษณรัตน์, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-10-27T06:28:48Z-
dc.date.available2022-10-27T06:28:48Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1879-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรกระบุรี จำกัด จังหวัดระนอง 2) ความคิดเห็นของสมาชิกสหกรณ์ต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาด 3) พฤติกรรมการใช้บริการของสมาชิกสหกรณ์ 4) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการของสมาชิกสหกรณ์ และ 5) ข้อเสนอแนะในการให้บริการ ผลการศึกษาพบว่า 1) สมาชิกสหกรณ์การเกษตรกระบุรี จำกัด จังหวัดระนอง กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 41 – 50 ปี สถานภาพสมรส การศึกษาระดับประถมศึกษา อาชีพทำส่วน ระยะเวลาการเป็นสมาชิกมากกว่า 10 ปีขึ้นไป รายได้ภาคเกษตร 10,000 – 20,000 บาท/เดือน รายจ่ายภาคการเกษตร ต่ากว่า 10,000 บาท/เดือน และมีหนี้สินทั้งหมดมากกว่า 30,000 บาท 2) ความคิดเห็นของสมาชิกสหกรณ์ต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดพบว่า สมาชิกมีระดับการตัดสินใจต่อการใช้บริการ ด้านผลิตภัณฑ์/บริการ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย/การใช้บริการ ด้านบุคคล/เจ้าหน้าที่สหกรณ์ ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการอยู่ในระดับมาก ส่วนด้านการส่งเสริมการตลาดการตัดสินใจอยู่ในระดับปานกลาง 3) พฤติกรรมการใช้บริการ พบว่า สมาชิกส่วนใหญ่ ซื้อสินค้า วัสดุ และอุปกรณ์ทางการเกษตร ปริมาณการซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง 1,001 – 5,000 บาท ใช้บริการสหกรณ์ 1 – 3 ครั้ง/เดือน เหตุผลที่ใช้บริการของสหกรณ์คือ มีผลตอบแทนเฉลี่ยคืน และดอกเบี้ยเงินฝากสูง 4) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการใช้บริการ พบว่า เพศ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ภาคการเกษตรเฉลี่ยต่อเดือน รายได้อื่นๆเฉลี่ยต่อเดือน รายจ่ายภาคการเกษตรเฉลี่ยต่อเดือน รายจ่ายอื่นๆเฉลี่ยต่อเดือน และด้านหนี้สิน มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้บริการ ส่วนความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับพฤติกรรมการใช้บริการ พบว่า ด้านผลิตภัณฑ์/บริการ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย/การใช้บริการ ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคคล/เจ้าหน้าที่สหกรณ์ ด้านลักษณะทางกายภาพ และ ด้านกระบวนการ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้บริการ และ 5) ข้อเสนอแนะคือ สหกรณ์ควรเพิ่มการส่งเสริมการขาย เพิ่มสินค้าให้มีความหลากหลาย และเพิ่มจุดให้บริการกับสมาชิก เพื่อสามารถให้บริการแก่สมาชิกได้อย่างทั่วถึงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตร--ไทย--ระนองth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้บริการของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรกระบุรี จำกัด จังหวัดระนองth_TH
dc.title.alternativeFactors related to the service use of members of Kraburi Agricultural Cooperative Limited, Ranong Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the personal factors of members of Agricultural Cooperative of Kra Buri Limited, Ranong province 2) the opinions of cooperative members on marketing mix factors 3) the service behavior of members of the cooperative 4) the relationship between personal factors and marketing mix factors affecting service behavior service of members and 5) the suggestions for services. The population of this study was 445 members using services of Kra Buri Agricultural Cooperative Limited on 31 March 2019. The sample size was 210 samples using Taro Yamane formula with the error value of 0.05 and simple random sampling method. The questionnaire was used to collect data and statistics was used to analyze data were such as frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation Chi-square test at statistical significance level of 0.01 and content analysis. The results of this study found that 1) most of members of Agricultural Cooperative of Kra Buri Limited, Ranong Province were female, age 41-50 years, married, completed primary education, were farmers, with membership period for longer than 10 years, their agricultural income was 10,000-20,000 Baht/month, the agricultural expenditure was lower than 10,000 baht/month, and total debts were more than 30,000 baht. 2) The opinions of cooperative members on marketing mix factors found that the members had the high level of the decision for using the service in product/service side, price side, distribution channel/service side, personnel officer side, physical side and process side while the marketing promotion side was at the moderate level. 3) The service behavior of members found that most of the members bought agricultural materials and equipment. The amount of purchasing was 1,001-5,000 Baht per time. They used the service 1-3 times/month. The reasons for using the service were because of average return and high interest for deposits. 4)The relationship between personal factors and service behavior found that sex, education, occupation, agricultural income per month, other income per month, agricultural expenditure per month, other expenditure per month and debts were related to service behaviors. The relationship between marketing mix factors and service behavior found that product/service aspect, price aspect, distribution channel/service aspect, marketing promotion aspect, personnel officer aspect, physical aspect and process aspect were related to behavior of using services. 5) The suggestions were that the cooperative should increase marketing promotion, more variety of products and more service places in order to be able to service all members more thoroughly.en_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons