Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1908
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรุ่งทิพย์ เลากิตติศักดิ์, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-31T02:45:25Z-
dc.date.available2022-10-31T02:45:25Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1908-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาวัฒนธรรมองค์กรของหน่วยงานที่พยาบาล วิชาชีพปฏิบัติ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (2) ศึกษาการเสริมสร้างหลังอำนาจในงานตามการรับรู้ของ พยาบาลวิชาชีพ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (3) ศึกษาคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ สังกัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์กร การเสริมสร้างพลังอำนาจในงาน ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ สังกัดองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ประชากรที่ใช้ศึกษาคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานบริการด้านสุขภาพ สังกัดองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ จำนวน 23 แห่ง จำนวน 272 คน เครื่องมือทื่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามวัฒนธรรมองค์กร การเสริมสร้างพลัง อำนาจและคุณภาพชีวิต ซึ่งมีค่าความเที่ยงของแบบสอบถามใน ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 3 และ ส่วนที่ 4 เท่ากับ 0.95 0.93 และ 0.96 ตามลำด้บ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเที่ยงเบนมาตรฐาน และ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) วัฒนธรรมองค์กรของหน่วยงานที่พยาบาลวิชาชีพ ปฎิบัติในสังกัดองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นวัฒนธรรมองค์กรแบบสร้างสรรค์มากกว่าวัฒนธรรมองค์กร ลักษณะตั้งรับ-เฉื่อยชา และวัฒนธรรมองค์กรลักษณะตั้งรับ-ก้าวร้าว (2) การเสริมสร้างพลังอำนาจในงานจากผู้บังคับบัญชาของพยาบาล วิชาชีพ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอยู่ในระดับปานกลาง (3) คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอยู่ในระดับปานกลาง และ (4) วัฒนธรรมองค์กรลักษณะสร้างสรรค์กับคุณภาพ ชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลาง (r = .54) วัฒนธรรมองค์กรลักษณะตั้งรับ-เฉื่อยชา และวัฒนธรรมองค์กรลักษณะตั้งรับ-ก้าวร้าว มีความสัมพันธ์ กับคุณภาพชีวิตทางบวกในระดับต่ำ (r= .31, r= .31) ตามลำดับ ส่วนการเสริมสร้างหลังอำนาจในงานกับคุณภาพ ชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูง (r = .76) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวัฒนธรรมองค์การth_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.subjectพยาบาล -- ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์กร การเสริมสร้างพลังอำนาจในงานกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.title.alternativeThe relationships between organizational culture, job empowerment, and quality of working life of professional nurses under the jurisdiction of the local government administrationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were ะ(1) to study organizational culture at working place professional nurses under the jurisdiction of the Local Government Administration, (2) to investigate job empowerment of professional nurses under the jurisdiction of the Local Government Administration, (3) to study quality of working life of professional nurses under the jurisdiction of the Local Government Administration, and (4) to fine the relationships between organizational culture job empowerment, and quality of working life of professional nurses under the jurisdiction of the Local Government Administration. The population comprised 272 of professional nurses at 23 health service units under the jurisdiction of the Local Government Administration. Research tools comprised four sets of questionnaires, covering (a) personal data (b) organizational culture, (c) empowerment, and (d) quality of working life.They were tested for reliability and validity. The Cronbach’s alpha reliability coefficients of part two, part three and part four were 0.95, 0.93,and 0.96 respectively. The statistical devices used for data analysis were descriptive statistics (frequency, percentage, mean, and standard deviation) and Pearson product-moment correlation coefficient. The findings were as follows: (1) Professional nurses rated their organizational culture as constructive styles more than passive-defensive styles and aggressive styles.(2) They rated their empowerment from their administrators at the moderate level.(3) They also rated their quality of working life at the moderate level.Finally,(4) there was a statistically positive significant correlation between organizational culture as constructive styles and quality of working life at moderate level (r=0.54,p < .01) but between organizational culture as passive-defensive styles, aggressive styles and quality of working life at low level (r=0.31,p < .01). the statistically positive significant correlation between job empowerment and quality of working life of professional nurses at high level (r=0.76,p < .01)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib118784.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons