Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1913
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ช่อทิพย์ บรมธนรัตน์ | th_TH |
dc.contributor.author | พิไลศรี สัมพันธ์สันติกูล | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-31T03:20:02Z | - |
dc.date.available | 2022-10-31T03:20:02Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1913 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม. (บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะส่วนบุคคล (2) ระดับการปฏิบัติของบุคลากรตามแนวทางการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของศูนย์บริการสาธารณสุขที่ได้รับและยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (3) เปรียบเทียบการปฏิบัติของบุคลากรตามแนวทางการพัฒนา องค์กรแห่งการเรียนรู้ระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุข ที่ได้รับและยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐาน (4) เปรียบเทียบการปฏิบัติของบุคลากรตามแนวทางการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้จำแนกตามปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล และ (5) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะของบุคลากรต่อการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของศูนย์บริการสาธารณสุข ในศูนย์ประสานงานที่ 5 สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ประชากรที่ศึกษา คือ บุคลากรที่ปฏิบัติงานศูนย์บริการสาธารณสุขในศูนย์ประสานงาน 5 มีจำนวน 587 คน คำนวณได้จำนวนตัวอย่าง 229 คนใช้วิธีสุ่มแบบชั้นภูมิ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อทั้งฉบับเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณลักษณะส่วนบุคคลส่วนใหญ่ อายุอยู่ในช่วง 31-40 ปีระดับการศึกษาสูงสุดปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ปฏิบัติงานกลุ่มสนับสนุนบริการ ระยะเวลาปฏิบัติงาน 1-10 ปี ไม่เคยได้รับอบรมเรื่ององค์กรแห่งการเรียนรู้ (2) ระดับการปฏิบัติของบุคลากรตามแนวทางการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ทั้งในภาพรวม และรายด้าน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการเรียนรู้ ด้านองค์กร ด้านบุคคล ด้านความรู้ และด้านเทคโนโลยี อยู่ในระดับสูง ทั้งในศูนย์บริการสาธารณสุขที่ได้รับและยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (3) ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยการปฏิบัติของบุคลากรตามแนวทางการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ภาพรวม และรายด้าน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านองค์กร ด้านบุคคล และด้านความรู้ ระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขที่ได้รับและยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข พบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) บุคลากรที่ได้รับการฝึกอบรมที่แตกต่างกันมีค่าเฉลี่ยการปฏิบัติในภาพรวมที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (5) ปัญหาอุปสรรคที่สาคัญ คือ ภาระงานในหน้าที่รับผิดชอบมาก บุคลากรขาดความตระหนักในการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ และขาดความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานควรจัดอัตรากาลังให้เหมาะสมกับภาระงาน จัดช่วงเวลาที่เหมาะสมให้บุคลากรทุกคนได้เรียนรู้ร่วมกันอย่างสม่าเสมอ และจัดอบรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ศูนย์บริการสาธารณสุข--การพัฒนาบุคลากร | th_TH |
dc.subject | บุคลากรสาธารณสุข--ไทย--กรุงเทพฯ | th_TH |
dc.subject | เจ้าหน้าที่สาธารณสุข--ไทย--กรุงเทพฯ | th_TH |
dc.subject | การบริหารสาธารณสุข--ไทย--กรุงเทพฯ | th_TH |
dc.title | การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานของบุคลากรตามแนวทางการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขที่ได้รับและยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุขในศูนย์ประสานงานที่ 5 สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | A comparison of personnel performance regarding learning organization development in accredited and non-accredited Public Health Centers under the Fifth Coordinating Center of Health Department, Bangkok Metropolitan Administration | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this survey research were: (1) to identify personal factors of staff; (2) to determine the levels of personnel performance related to learning organization development; (3) to compare the average levels of personnel performance for learning organization development; (4) to compare the levels of personnel performance for learning organization development by personal factors; and (5) to identity problems and suggestions as expressed by staff concerning learning organization development, all in accredited and non-accredited public health centers under the Fifth Coordinating Center of the Health Department, Bangkok Metropolitan Administration. The study population was 587 staff members working at public health centers under the Fifth Coordinating Center; of whom, 229 were selected using the stratified sampling approach. Data were collected using a questionnaire with Cronbach’s reliability coefficient of 0.97. Analytical statistics used were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and one-way analysis of variance. The results showed that: (1) of all participants, most of them were in the age group 31–40 years, completed a bachelor's degree or equivalent, had been working on operational support services for 1–10 years, and had never been trained in learning organization development; (2) the levels of personnel performance for learning organization development at both accredited and non-accredited public health centers were high for the overall and top 5 areas – learning, organization, personnel, knowledge and technology; (3) by comparison, the average levels of personnel performance at accredited centers were significantly different from those at non-accredited centers regarding overall and three aspects (organization, personnel and knowledge (p = 0.05); (4) differently trained personnel had significantly different average performance scores at the 0.05 level; and (5) major problems identified were high workloads, lack of awareness in learning new approaches, and lack of understanding about learning organization development. It is thus suggested that officials concerned should ensure suitable staffing assignments and workload allotments, set a suitable time period for regular joint staff learning, and organize a training program on learning organization development | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สมโภช รติโอฬาร | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
158843.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 20.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License