Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1920
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจุฑามาส จงศิริ, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-31T04:02:23Z-
dc.date.available2022-10-31T04:02:23Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1920-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องวัฒนธรรมเกษตรของชาวไทยพวนบ้านโภคาภิวัฒน์ ตำบลบางน้าเชี่ยว อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) บริบทชุมชน 2) ลักษณะ คุณค่า และความสำคัญของวัฒนธรรมด้านวัตถุที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม 3) ลักษณะ คุณค่า และความสำคัญของวัฒนธรรมด้านจิตใจที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม และ 4) แนวทางในการอนุรักษ์และฟื้นฟูวัฒนธรรมเกษตร ผลการศึกษาพบว่า (1) ชาวไทยพวนบ้านโภคาภิวัฒน์มีถิ่นฐานเดิมอยู่ที่ เมืองเชียงขวาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ปัจจุบันตั้งถิ่นฐานอยู่ในเขตพื้นที่หมู่ 5 ตำบลบางน้าเชี่ยว อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี ประชากรส่วนใหญ่มีเชื้อสายไทยพวน นับถือศาสนาพุทธ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม (2) วัฒนธรรมด้านวัตถุที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรรมประกอบด้วย การบริโภค แบบแผนการประกอบอาชีพ สิ่งปลูกสร้างทางการเกษตร อุปกรณ์ทางการเกษตร (3) วัฒนธรรมด้านจิตใจที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ ประเพณีส่วนบุคคล ได้แก่ การทำบุญกองข้าว/สู่ขวัญลาน/สู่ขวัญข้าว การไหว้เจ้าไร่เจ้านา และประเพณีส่วนรวม ได้แก่ ประเพณีกำฟ้า ประเพณีกวนข้าวทิพย์ ประเพณีสารทพวน (4) แนวทางในการอนุรักษ์และฟื้นฟูวัฒนธรรมเกษตร แบ่งเป็น แนวทางการดำเนินงานของชุมชน ได้แก่ การอนุรักษ์เครื่องมือเครื่องใช้ทางการเกษตร การปลูกฝังวัฒนธรรมสู่คนรุ่นหลังตั้งแต่ยังเด็ก การถ่ายทอดและสร้างความเข้าใจวัฒนธรรมไทยพวนในโรงเรียน เปิดโอกาสให้คนรุ่นหลังมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ ผู้นำชุมชนมุ่งมั่นในการอนุรักษ์วัฒนธรรมของชุมชน และแนวทางการดำเนินงานของหน่วยงานราชการ ได้แก่ การจัดทำเอกสารเพื่อประชาสัมพันธ์ จัดอบรมเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยพวน จัดโครงการเกี่ยวกับวัฒนธรรม สนับสนุนงบประมาณ และร่วมกับชุมชนตามบทบาทหน้าที่ของแต่ละหน่วยงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.294-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเกษตรกรรม--ไทย--สิงห์บุรีth_TH
dc.titleวัฒนธรรมเกษตรของชาวไทยพวน บ้านโภคาภิวัฒน์ ตำบลบางน้ำเชี่ยว อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรีth_TH
dc.title.alternativeAgricultural culture of Thai Phuan in Ban Poka Piwat Bang Nam Chiao Sub-district, Phrom Buri District, Sing Buri Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.294-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the study of agricultural culture of Thai Phuan in Ban Poka Piwat, Bang Nam Chiao Sub-District, Phrom Buri District, Sing Buri Province were to find (1) community contexts, (2) characteristics, values, and significance of material culture relating to agriculture, (3) characteristics, values, and significance of mental culture relating to agriculture, and (4) guidelines for conservation and restoration of agricultural culture. This was qualitative research collecting data by purposive random sampling that composed of a total 24 respondent from local work units, official and non-official community leaders, farmers, and experts. In-depth interview, study of secondary data, participatory observation, and group conversation were conducted to check the accuracy of data. Data was analyzed by data classification. The study findings were indicated that (1) Originally, Thai Phuan domicile was in Xieng Khaung Province, Lao PDR. At the present, they had lived in the area of Moo 5, Bang Nam Chiao Sub-District, Phrom Buri District, Sing Buri Province. Most of them were Thai Phuan race, Buddhist and made their living as farmers. (2) The material culture relating to Thai Phuan’s agriculture included consumption, pattern of making their livings, agricultural buildings and agricultural equipment. (3) The mental culture relating to Thai Phuan’s agriculture could be divided into two characteristics, namely individual tradition i.e. rice offering the spirit/welcome rice ground/welcome rice goddesses; worship rice-field/spirit and public tradition i.e. Kamfa ceremony or worship sky ceremony, Madhupayat rice ceremony, and Sart Phuan tradition. (4) The guidelines in conservation and restoration of agricultural culture were divided into community work guidelines, such as conservation of agricultural equipment, cultural cultivation down to young generation since childhood, transfer and boost understanding of Thai Phuan culture in schools, opportunity available for young generation to take part in conservation, public relations campaign via various channels and community leaders determination in culture conservation of community, while work guidelines of official work units comprised publication of documents for public relations, training on Thai Phuan culture, organizing cultural projects, budget allocation, and cooperation with community according to roles of each work unit.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143282.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons