Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1923
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทรงศรี สรณสถาพร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอังกาบ มณีธวัช, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-31T04:26:28Z-
dc.date.available2022-10-31T04:26:28Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1923-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552.ฃth_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัย สภาพแวดล้อมในการบริหารจัดการการนิเทศของผู้บริหารการพยาบาล (2) ศึกษาระดับการบริหารจัดการการ นิเทศของผู้บริหารการพยาบาล และ (3) เพื่อศึกษาตัวแปรที่สามารถร่วมพยากรณ์การบริหารจัดการการนิเทศ ของผู้บริหารการพยาบาล โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มประชากร คือ ผู้บริหารการพยาบาลระดับต้น ทื่ปฏิบัติงานในกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ จำนวน 162 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลด้านบุคคล แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยสภาพแวดด้อม และแบบสอบถามเกี่ยวกับ การบริหารจัดการการนิเทศทางการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน และวิเคราะห์ ค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้านปัจจัย สภาพแวดล้อม เท่ากับ 0.89 และแบบสอบถามด้านการบริหารจัดการการนิเทศทางการพยาบาล เท่ากับ 0.92 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความกี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเที่มีตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ ระยะเวลาการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้บริหาร มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำ กับการบริหารจัดการการนิเทศทางการพยาบาลและระดับการศึกษามี ความสัมพันธ์ทางลบในระดับต่ำ กับการบริหารจัดการ การนิเทศทางการพยาบาล และการอบรม เพี่มเติมไม่มี ความสัมพันธ์กับการบริหารจัดการการนิเทศทางการพยาบาล (2) ปัจจัยสภาพแวดล้อมของผู้บริหารการพยาบาล ด้านระบบการติดต่อสื่อสารอยู่ในระดับมาก ด้านโครงสร้างและนโยบาย และด้านการสนับสนุนจากผู้บริหารอยู่ ในระดับปานกลาง ซึ่งทั้ง 3 ด้าน มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับการบริหารจัดการการนิเทศ ทางการพยาบาล (3) การบริหารจัดการการนิเทศของผู้บริหารการพยาบาลโดยรวม อยู่ในระดับมาก (4) ปัจจัย ส่วนบุคคลด้านอายุ และปัจจัยสภาพแวดล้อมด้านระบบการติดต่อสื่อสาร สามารถร่วมทำนายการบริหารจัดการ การนิเทศของผู้บริหารการพยาบาลของโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เขต กรุงเทพมหานคร ได้ร้อยละ 30.5th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข -- การบริหารth_TH
dc.subjectการพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.subjectผู้บริหาร -- การบริหารth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารจัดการนิเทศของผู้บริหารการพยาบาล โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing supervisory management by nursing administrators at hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health, Bangkok Metropolitanth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to study personal factors and environment factors for supervisory management by nursing administrators 1 (2) to find the level of supervisory management by nursing administrators, and (3) to identify the predictor variables of supervisory management by nursing administrators at hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health, Bangkok Metropolitan. The population in this study were 190 administrators who worked as the first level nursing administrators at nursing departments in hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health. Questionnaires were used as research tools and consisted of three sections: personal factors, environment factors, and supervisory management by nursing administrators. The content validity was verified by five experts. These questionnaires were tested for content validity and reliability. The Cronbach’s alpha reliability coefficients of the second and the third sections were 0.89 and 0.92 respectively. Data were analyzed by descriptive statistics (frequency, percentage, mean, and standard deviation), Pearson’s product moment correlation, and multiple regression analysis. The research findings were as follows. (1) Personal factors in terms of age and experience significantly positively correlated with supervisory management; whereas there was statistically significantly negative correlation between education and supervisory management. Training did not correlate with supervisory management. (2) Nursing administrators rated environment factors in terms of information at the high level. They rated structure and policy and support at the moderate level. These three environment factors significantly positively correlated with supervisory management at the moderate levels. (3) Nursing administrators rated their supervisory management at the high level. (4) Both “age” (one of personal factors) and “information” (one of environment factors) predicted supervisory management by nursing administrators and accounted for 30.50 %en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib118788.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons