Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1927
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ช่อทิพย์ บรมธนรัตน์ | th_TH |
dc.contributor.author | สมภน วรสร้อย | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณทิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-31T06:50:26Z | - |
dc.date.available | 2022-10-31T06:50:26Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1927 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม. (บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล การรับรู้เกี่ยวกับการดำเนินงาน และปัจจัยสนับสนุนการดำเนินงาน (2) ระดับการดำเนินงานของเครือข่ายทีมสุขภาพของหมอครอบครัวระดับตำบล (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล การรับรู้เกี่ยวกับการดำเนินงาน และการสนับสนุนการดำเนินงานกับการดำเนินงานของเครือข่ายทีมสุขภาพของหมอครอบครัวระดับตำบล และ (4) ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการพัฒนาการดำเนินงานของเครือข่ายทีมสุขภาพของหมอครอบครัวระดับตำบล อำเภอน้าปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย มี 2 กลุ่ม คือ ผู้ให้ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ เครือข่ายทีมสุขภาพหมอครอบครัวในอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ประกอบด้วย ทีมสหวิชาชีพและทีมสุขภาพภาคประชาชนใน 13 ตำบล จำนวน 968 คน คำนวณตัวอย่างได้ 276 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบง่าย และผู้ให้ข้อมูลเชิงคุณภาพ คือผู้บริหารในทีมสุขภาพหมอครอบครัว จำนวน 16 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์เจาะลึก และแบบสนทนากลุ่ม มีค่าความเที่ยงของแบบสอบถามทั้งฉบับ เท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี มีรายได้น้อยกว่า 15,000 บาท มีการศึกษาในระดับต่ำกว่าปริญญาตรี การรับรู้เกี่ยวกับการดำเนินงาน อยู่ในระดับมาก การสนับสนุนการดำเนินงานอยู่ในระดับปานกลาง (2) ระดับการดำเนินงานของเครือข่ายทีมสุขภาพของหมอครอบครัวในภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก (3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดำเนินงานของเครือข่ายทีมสุขภาพของหมอครอบครัว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ รายได้ การรับรู้เกี่ยวกับการดำเนินงาน ปัจจัยสนับสนุนการดำเนินงาน และ (4) ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญคือความขาดแคลนบุคลากรทีมสหวิชาชีพโดยเฉพาะแพทย์ ขาดแคลนงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์สนับสนุนเฉพาะ ข้อเสนอแนะ ควรสนับสนุนให้แพทย์จบใหม่ไปเรียนแพทย์เวชปฏิบัติครอบครัวได้เลยไม่ต้องรอใช้ทุน 3 ปี สนับสนุนงบประมาณและบุคลากรอย่างเพียงพอ และการบูรณาการการทำงานของทีมสหวิชาชีพ เพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงานและช่วยประหยัดทรัพยากร | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | แพทย์ประจำบ้าน | th_TH |
dc.subject | ทีมสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | การบริการทางการแพทย์ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดำเนินงานของเครือข่ายทีมสุขภาพของหมอครอบครัวระดับตำบล อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ | th_TH |
dc.title.alternative | Factors related to operations of sub-district family doctor's health team networks in Nam Pat District, Uttaradit Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this descriptive research were to: (1) identify personal factors, perceived work operations, and supportive factors; (2) determine the levels of subdistrict family care teams/networks’ operations; (3) explore the relationship between personal factors, perceived work operations, and supportive factors, sub-district family care team networks’ operations; and (4) identify problems/obstacles and make suggestions for improving sub-district family care team networks in Nam Pat district, Uttaradit province. The study population included members and administrators of family care teams and networks in the district. Quantitative data were collected from a sample of 276 members randomly selected from 968 subdistrict family care team members as well as multidisciplinary professionals and community leaders (in all subdistricts), while qualitative data were collected from in-depth interviews with 16 family care team administrators. Research instruments included a questionnaire, an in-depth interview form, and a focus group discussion form. The reliability value of the whole questionnaire was 0.97. Statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, Pearson product-moment correlation coefficient, and chi-square test. The findings showed that: (1) among all respondents, most of them were female and 41-50 years old on average; and they had an average income less than 15,000 baht per month, an undergrad degree, perceived operations at a high level, and supportive factors at the moderate level; (2) the levels of overall and aspect-specific operations of family care teams were at the high level; (3) the factors significantly associated with family care teams’ operations (p < 0.05) were income, perceived operations, and supportive factors; and (4) major problems/obstacles identified were a lack of multidisciplinary team members especially doctors and insufficient budget and special materials. Thus, it is suggested that newly graduated doctors should be encouraged to undertake residency training in family medicine immediately without completing the 3-year compulsory public service; and adequate budget and personnel should be provided. Moreover, an integrated working approach for multidisciplinary team members should be adopted to reduce operational steps and save resources | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วรางคณา จันทร์คง | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
156667.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License