กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1933
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมัณฑนา ไทยละออง, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-31T07:41:59Z-
dc.date.available2022-10-31T07:41:59Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1933-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานส่วนบุคคล สังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) ความรู้เกี่ยวกับการผลิตมะพร้าวของเกษตรกร (3) สภาพการผลิตมะพร้าวของเกษตรกร (4) สภาพการตลาดของเกษตรกร และ (5) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการผลิตและการตลาดมะพร้าวของเกษตรกร ผลการศึกษา พบว่า (1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ เฉลี่ย 54.08 ปี สมาชิกในครัวเรือน เฉลี่ย 3.70 คน จบการศึกษาในระดับประถมศึกษาตอนต้น อาชีพหลักทาสวน ประสบการณ์ในการปลูกมะพร้าวเฉลี่ย 30.51 ปี มีพื้นที่ปลูกมะพร้าว เฉลี่ย 8.54 ไร่ อายุมะพร้าวเฉลี่ย 26.72 ปี จำนวนแรงงานที่ใช้ในการปลูกมะพร้าวเฉลี่ย 2.26 คน ส่วนใหญ่ไม่มีการจ้างแรงงาน รายได้จากมะพร้าว เฉลี่ย 83,317.54 บาท/ปี ต้นทุนในการผลิตมะพร้าวของเกษตรกร เฉลี่ย 3,049.41 บาท/ไร่/ปี ใช้เงินทุนของตนเองในการผลิตมะพร้าว เกษตรกรได้รับข้อมูลข่าวสารในการปลูกมะพร้าวในระดับค่อนข้างน้อย โดยส่วนใหญ่ได้รับข้อมูลจากเจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมการเกษตรมากที่สุด (2) เกษตรกรมีความรู้ในการผลิตมะพร้าวระดับปานกลาง ส่วนใหญ่มีความรู้ในด้านการปลูก การดูแลรักษา ขาดความรู้ในด้าน การป้องกันกาจัดโรคแมลง การคัดเลือกสวนพันธุ์ (3) เกษตรกรส่วนใหญ่มีพื้นที่ปลูกเป็นพื้นที่ราบ ลักษณะดินเป็นดินร่วนปนทรายและดินร่วน สภาพน้าเป็นน้ำจืด พันธุ์มะพร้าวที่ปลูกเป็นพันธุ์ต้นสูงระยะปลูก 9 x 9 เมตร ส่วนใหญ่เกษตรกรเพาะพันธุ์เอง ไม่มีการให้น้า มีการใส่ปุ๋ยเคมี เฉลี่ย ปีละ 1 ครั้ง อัตรา 46.21 กิโลกรัมต่อไร่/ปี ส่วนใหญ่ปลูกมะพร้าวทดแทนต้นที่เสื่อมโทรม และบางส่วนมีการปลูกพืชแซม โรคและศัตรูมะพร้าวที่พบ ได้แก่ โรคผลร่วง โรคเอือนกิน ด้วงแรด ด้วงงวง แมลงดำหนาม หนอนหัวดำ หนู และกระรอก ส่วนใหญ่ใช้วิธีกลร่วมกับวิธีเขตกรรมและสารเคมี (4) ปริมาณผลผลิตมะพร้าวผลแก่เฉลี่ย 961.15 ผล/ไร่/ปี มะพร้าวให้ผลผลิตสูงสุดเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม ความถี่ในการเก็บเกี่ยว 45 วัน/ครั้ง การจำหน่ายผลผลิต ส่วนใหญ่พ่อค้าเก็บเอง โดยใช้แรงงานสัตว์ (ลิง)ในการเก็บเกี่ยว และรับซื้อที่สวน การแปรรูปผลผลิตมะพร้าวมีน้อยมาก การจำหน่ายผลมะพร้าวส่วนใหญ่เป็นมะพร้าวผลแก่ ผู้กาหนดราคาผลมะพร้าวเป็นพ่อค้ารับซื้อทั่วไป (5) ปัญหาที่พบมาก ได้แก่ เกษตรกรขาดความรู้เรื่องการป้องกันกาจัดโรคแมลง การแปรรูปผลผลิตมะพร้าว ราคาผลผลิตตกต่า และปุ๋ยเคมีมีราคาสูง โดยเกษตรกรมีข้อเสนอแนะคือ อบรมให้ความรู้การป้องกันกำจัดโรคแมลงศัตรูมะพร้าวและหาแนวทางการป้องกันกำจัดแมลงดำหนาม หนอนหัวดำ ด้วงแรด อย่างยั่งยืน ด้านราคาผลผลิตตกต่า สนับสนุนให้มีการแปรรูปผลผลิต การรวมกลุ่มเพื่อจาหน่ายผลผลิตมะพร้าวและจัดซื้อปุ๋ยเคมีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.436-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมะพร้าว--การผลิตth_TH
dc.subjectมะพร้าว--การตลาดth_TH
dc.titleการผลิตและการตลาดมะพร้าวของเกษตรกรในจังหวัดชุมพรth_TH
dc.title.alternativeCoconut production and marketing in Chumphon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.436-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study (1) basic personal and socio-economic conditions of coconut farmers, (2) knowledge relating to coconut production by farmers, (3) situations of coconut production by farmers, (4) marketing conditions of farmers, and (5) problems and suggestions for coconut production and marketing of farmers. Population in this study was a number of 18,681 coconut farmers in the area of Chumphon Province. By simple random sampling, 392 samples were selected. Data were collected by structured interview form and analyzed by computerized program. Statistics were used including frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean and standard deviation. The study findings indicated that (1) most of farmers were male with the average age of 54.08 years. The average experience in growing coconut was 30.51 years. The average coconut growing area was 8.54 rai (1 rai = 1,600 square meters). The average age of coconut was 26.72 years. The average labor for growing coconut was 2.26 persons without hiring any labor. The average income from coconut was 83,317.54 baht/year. The average expense on coconut was 3,049.41 baht/rai. Most of them did not have debts for coconut production. Most of them received information on growing coconut at low level. Most of them received information from agricultural extensionists at the highest level. (2) The knowledge relating to growing coconut was at medium level. (3) In terms of coconut production, most of them planted cocnut on the plain area, sandy loam and loose soil, and fresh water. Most of coconut variety was high tree. Source of coconut variety was from their propagation. Growing line was rectangular, applying chemical fertilizer averagely 46.21 kg/rai/year. They did not control coconut insects and pests. Frequency of harvest was 45 days/time. Products selling, most of the merchants collected coconuts by animal labor (monkeys) during harvest time. (4) The average quantity of coconut product was 961.15 coconuts/rai/year. The best month of coconut yield was July to August. There was a little of coconut processing. Mostly, they sold old coconuts, and priced were indicated by general merchants. (5) The problems in coconut production and marketing were at medium level. The suggestions by the farmers included training on growing coconut, maintenance, increasing yield per rai, decreasing production cost, knowledge on coconut processing and marketing, supporting good coconut variety to replace old plantation, and an extension of increasing land for coconut plantation. Hence, the government should have the regulations for controlling imported coconuts, price guarantee for coconut products, group integration for selling coconut products, and purchasing chemical fertilizer as well as marketing support for them.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Agri-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
143318.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.76 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons