Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1939
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศริศักดิ์ สุนทรไชยth_TH
dc.contributor.authorจันจิราภรณ์ จันต๊ะth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-31T08:18:16Z-
dc.date.available2022-10-31T08:18:16Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1939-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัญหาสิ่งแวดล้อมและกิจกรรมการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทผลิตอาหารสัตว์แห่งหนึ่งในจังหวัดลำพูน 2) ศึกษาการรับรู้และความต้องการของชุมชนโดยรอบบริษัทฯ 3) หาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ด้านสิ่งแวดล้อมและการรับรู้ด้านการจัดกิจกรรมการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมกับความต้องการของชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณโดยรอบบริษัทฯ และ 4) เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย 2 กลุ่ม คือ ตัวแทนบริษัทผลิตอาหารสัตว์แห่งหนึ่ง ในจังหวัดลำพูน และชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณโดยรอบในรัศมี 2.5 กิโลเมตรและได้รับผลกระทบจากการประกอบกิจการของบริษัทฯ ได้แก่ หมู่บ้านและสถานประกอบการข้างเคียง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ที่มีค่าความเที่ยง 0.824 เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบจากครัวเรือน ได้จำนวน 378 ตัวอย่าง และสัมภาษณ์เชิงลึกจากตัวแทนชุมชน จำนวน 9 คน และตัวแทนบริษัทฯ จำนวน 5 คน นำผลที่ได้มาวิเคราะห์หาจำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบไคสแควร์ ผลจากการศึกษาพบว่า 1) ชุมชนส่วนใหญ่มีความเห็นว่า กลิ่นเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่พบมากที่สุดและกิจกรรมการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทฯ ที่ผ่านมาไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของชุมชนได้ และตัวแทนบริษัทฯ ให้ความเห็นว่าบริษัทฯ ได้มีการจัดกิจกรรมการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมมาอย่างต่อเนื่องแต่อาจไม่ได้เน้นเฉพาะชุมชนกลุ่มเป้าหมายโดยรอบเท่านั้น 2) ชุมชนส่วนใหญ่ไม่รับรู้ต่อการจัดกิจกรรมการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมที่ผ่านมาของบริษัทฯและชุมชนมีความต้องการด้านการสนับสนุนชุมชนและการพัฒนาคุณภาพชีวิตสูงสุด 3) การรับรู้ด้านสิ่งแวดล้อมและด้านการจัดกิจกรรมการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมของชุมชนมีความสัมพันธ์กับความต้องการด้านการจัดการปัญหาเรื่องกลิ่นอย่างจริงจังและความต้องการให้บริษัทฯ มีส่วนร่วมกับชุมชนสูงที่สุด และ 4) ผลจากการวิเคราะห์ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ พบว่า นอกจากบริษัทฯ จะต้องพัฒนาระบบการบำบัดกลิ่นให้มีประสิทธิภาพแล้ว สิ่งหนึ่งที่ควรทำควบคู่ไปด้วยคือ การสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบริษัทฯ และชุมชนโดยการดำเนินกิจกรรมตามแนวทางความต้องการที่แท้จริงของชุมชน ซึ่งได้แก่ 1) การจัดเวทีให้ชุมชนและบริษัทฯ ได้มีโอกาสพูดคุยปรึกษากัน และ 2) นำวัสดุเหลือใช้จากบริษัทฯ มาสร้างประโยชน์หรือเพิ่มมูลค่าให้กับชุมชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ--ไทยth_TH
dc.subjectปัญหาสิ่งแวดล้อม--ไทยth_TH
dc.titleการพัฒนาการจัดกิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคมที่สอดคล้องตามความต้องการของชุมชน กรณีศึกษาบริษัทผลิตอาหารสัตว์แห่งหนึ่งในจังหวัดลำพูนth_TH
dc.title.alternativeThe development of corporate social responsibility activities according to community needs : a case study of a feed production company in Lamphun Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research were to: (1) identify environmental problems and corporate social responsibility (CSR) activities of a feed company in Lamphun province; (2) identify perception and needs of communities around the company; (3) determine the relationships between environmental and CSR activity perception and community needs; and (4) prepare and propose guidelines for undertaking CSR activities in accordance with the real community need The study involved one l feed production company that represented all such companies in Lamphun and a sample of 378 households selected with the systematic sampling in all communities located within a 2.5-km radius of the company and affected by the company’s operations. Data were collected using a questionnaire with reliability value of 0.824 and in-depth interviews with 9 community members and 5 representatives of the company. Data were then analyzed as percentage, mean, standard deviation and Chi-square test. The results revealed that: (1) most communities rated smell as the most common environmental problem and indicated that the company’s previous CSR activities could not meet community needs; but the company’s representatives stated that the company had continually organized CSR activities not only for the target communities around the company; (2) most communities did not perceive the previous CSR activities; rather, they needed community support and quality of life improvement the most; (3) environmental and CSR activity perception among the communities were related to the need for smell problem management in a serious manner; and the communities needed the company’s participation with them at the highest level; and (4) based on both quantitative and qualitative analyses, in addition to developing an effective smell treatment system, the company has to create a good relationship between the company and the communities with community needs, through (a) organizing forums for the communities and the company to discuss together and (b) using the company’s excess materials for the benefit of the communitiesen_US
dc.contributor.coadvisorสุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์th_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156523.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons