Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1948
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชรี ผาสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนวัฒน์ ฉิมม่วง, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-01T01:55:14Z-
dc.date.available2022-11-01T01:55:14Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1948-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบความสุขทางเศรษฐศาสตร์ในการทํางานของบุคลากร และ 2) วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขทางเศรษฐศาสตร์ในการทํางานของบุคลากร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ บุคลากรสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ จำนวน 1,198 คน กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาจำนวน 300 คน คำนวณโดยสูตรของทาโร่ ยามาเน่ ที่ความคลาดเคลื่อน 0.05 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ วิเคราะห์โดยสถิติเชิงพรรณนา การจัดกลุ่มตัวแปรด้วยวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบหลักและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรด้วยแบบจําลองการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของสมการโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่า (1) องค์ประกอบความสุขทางเศรษฐศาสตร์ในการทำงานด้านการเป็นที่ยอมรับมีค่าเฉลี่ยสูงสุดอยู่ในระดับมาก โดยมีความภูมิใจในตัวเองในฐานะที่เป็นบุคลากรสังกัด สพฐ. รองลงมาคือด้านสุขภาพ ได้แก่ การตรวจสุขภาพประจำปีและการรักษาพยาบาลและด้านรายได้มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ค่าตอบแทนและสวัสดิการ (2) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน พบว่า องค์ประกอบด้านการทํางานมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกต่อองค์ประกอบความสุขทางเศรษฐศาสตร์ โดยมีค่าน้ำหนักองค์ประกอบมาตรฐาน เท่ากับ 0.26 โดยปัจจัยด้านสุขภาพมีอิทธิพลสูงสุดต่อความสุขทางเศรษฐศาสตร์ในการทํางานของกลุ่มตัวอย่างมีค่าน้ำหนักองค์ประกอบมาตรฐาน เท่ากับ 0.60 รองลงมาคือ ด้านสังคม (0.52) และด้านรายได้ (0.41) ตามลำดับ โดยแบบจําลองมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์โดยมีค่าความน่าจะเป็นของไค-สแควร์ มากกว่า 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกระทรวงศึกษาธิการ. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน--ข้าราชการและพนักงาน--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectเศรษฐศาสตร์สวัสดิการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขทางเศรษฐศาสตร์ในการทำงานของบุคลากร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting economics of happiness at work of the personnel in the Office of the Basic Education Commission, Ministry of Educationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were 1) to study the components of the economics of happiness at work of the personnel and 2) to analyze the factors affecting the economics of happiness at work of the personnel working in the Office of the Basic Education Commission, Ministry of Education. The population of this study was the 1,198 personnel working in the Office of the Basic Education Commission, Ministry of E-ducation. The samples of 300 personnel were calculated from Taro Yamane's formula with an error level of 0.05. The questionnaire was used to collect data by a stratified random sampling method. The data were analyzed by descriptive statistics, the grouping of variables based on principal component analysis, and relationship between variables according to the confirmatory factor analysis model of the structural equation. The study results were as follows. (1) An acceptance, represented by the highest average score, was a major component of the economics of happiness at work. Here, Most of the personnel proud themselves as the officer of the OBEC. This is followed by the health component determined by annual health checkup and medical treatment fees and income component; with a moderate average score, determined by compensation and welfare. (2) The confirmatory' factor analysis indicated that the working components had a positive relationship, shown by a standardized factor loading of 0.26, with the components of the economics of happiness. In particular, health, with the standardized loading factor of 0.60, was the major factor contributed to the economics of happiness at work. It is followed by society (0.52) and income (0.41), respectively. The model was consistent with the empirical data at the chi-square probability value greater than 0.05en_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons