Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1949
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีนวล สถิตวิทยานันท์, 2495- อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์, 2497- อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประไพ ศรีแก้ว, 2503--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-01T01:56:44Z-
dc.date.available2022-11-01T01:56:44Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1949-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับคุณภาพชีวิต การทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวง สาธารณสุข เขตภาคใตั (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลการบริหารจัดการ และ ความเครียดในการทำงานกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) ตัวแปรที่ร่วมกัน พยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคใต้ จำนวน 363 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามประกอบด้วย 4 ส่วนคือ ข้อมูลส่วนบุคคลการบริหารจัดการ ความเครียดในการทำงานและคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ แบบสอบถามผ่านการ ตรวจสอบความตรงตามเนี้อหาและวิเคราะห์หาความเที่ยงได้ เท่ากับ .97, .78 และ .94 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ ค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โดยภาพรวมอยู่ใน ระดับสูง (X = 3.59) (2) ปัจจัยส่วนบุคคลไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทำงานของ พยาบาลวิชาชีพ การบริหารจัดการมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาล วิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .68) ความเครียดในการทำงานมีความสัมพันธ์ทาง ลบกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = - .33) และ (3) ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ การบริหารจัดการความเครียดในการทำงาน ตามลำดับ โดยร่วมกันพยากรณ์ ได้ ร้อยละ 49 (R2= .49)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพ -- ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพ -- ไทย -- ภาคใต้th_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคใต้th_TH
dc.title.alternativeFactors influencing the quality of work life of professional nurses at both Regional Hospitals and General Hospitals under the Ministry of Public Health in the Southern Regionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive study were: (1) to investigate the level of quality of work life of professional nurses at both regional hospitals and general hospitals under the Ministry of Public Health in the southern region; (2) to study the relationships between personal factors, management, occupational stress, and quality of work life of professional nurses; and (3) to identify the predictors of variables of the quality of work life of professional nurses. The sample comprised 363 professional nurses who worked at both regional hospitals and general hospitals under the Ministry of Public Health in the southern region. They were selected by simple random sampling. Questionnaires were used as research tools and comprised four sections: personal data, management, occupational stress, and the quality of work life of professional nurses. The questionnaires were tested for validity and reliability. The reliability of the second to the fourth sections were .97, .78, and .94 respectively. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, Chi-square test, Pearson product - moment correlation, and stepwise multiple regression. The major findings were as follows. (1) Professional registered nurses rated their quality of work life at the high level (X = 3.59). (2) Personal factors did not significantly correlate with quality of work life of professional nurses. Management related positively and significantly to their quality of work life (r = .68); while occupational stress related negatively and significantly to their quality of work life (r = - .33). Finally, (3) management and stress predicted the quality of work life of professional nurses. These predictors accounted for 49 % (R2 =.49)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib122086.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.16 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons