Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1951
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจิตรา รอดสมบุญth_TH
dc.contributor.authorอวยพร แซ่เฮง, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-01T02:08:22Z-
dc.date.available2022-11-01T02:08:22Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1951en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อปัจจัยการผลิตทางการเกษตรของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบางใหญ่ จํากัด 2) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อปัจจัยการผลิตทางการเกษตร 3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อปัจจัยการผลิตทางการเกษตร และ 4) ข้อเสนอแนะในการให้บริการ ประชากรที่ศึกษา คือ สมาชิกของสหกรณ์การเกษตร บางใหญ่ จำกัด จำนวน 1,647 ราย ณ วันสิ้นปีบัญชี 31 ธันวาคม 2562 กลุ่มตัวอย่าง จำนวนตัวอย่าง 322 ราย ใช้การคำนวณจากสูตรทาโร่ ยามาเน่ที่ค่าความคลาดเคลื่อน 0.05 ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย การวิเคราะห์เชิงปริมาณ สถิติที่ใช้คือ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบไคสแควร์ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติร้อยละ 0.05 และการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ คือ การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า ส่วนใหญ่สมาชิกสหกรณ์การเกษตร บางใหญ่ จํากัด เป็นเพศชาย อายุมากกว่า 50 ปี การศึกษาต่ากว่ามัธยมศึกษา ระยะเวลาการเป็นสมาชิก 5-10 ปี รายได้ภาคการเกษตร 10,000-15,000 บาทต่อเดือน รายจ่ายภาคการเกษตร 5,000-10,000 บาทต่อเดือน หนี้สินทั้งหมดต่ำกว่า 20,000 บาท และเนื้อที่ทําการเกษตร ต่ำกว่า 5 ไร่ ส่วนประสมการตลาดของสหกรณ์โดยรวมพบว่า ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจําหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก พฤติกรรมการซื้อปัจจัยการผลิตทางการเกษตรของสมาชิกสหกรณ์ พบว่า ส่วนใหญ่สมาชิกซื้อปุ๋ย 1,000-5,000 บาท ความถี่ในการซื้อ มากกว่า 4 ครั้งต่อปี และเหตุผลในการซื้อคือได้รับเงินเฉลี่ยคืน 1) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อปัจจัยการผลิตทางการเกษตร คือ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส จำนวนสมาชิกในครัวเรือน และระยะเวลาการเป็นสมาชิก 2) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อปัจจัยการผลิตทางการเกษตรคือ รายได้ภาคการเกษตรเฉลี่ยต่อเดือน รายได้อื่นๆ เฉลี่ยต่อเดือน รายจ่ายภาคการเกษตรเฉลี่ยต่อเดือน รายจ่ายอื่นๆ เฉลี่ยต่อเดือน หนี้สินทั้งหมด และเนื้อที่ทำนา 3 ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อปัจจัยการผลิตทางการเกษตรคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจําหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการ และ 4) ข้อเสนอแนะคือ ควรมีปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่หลากหลาย ควรกำหนดราคาต่ำกว่าท้องตลาด การจัดวางผลิตภัณฑ์ควรแบ่งโซนแยกให้ชัดเจน ควรเพิ่มช่องทางการชำระเงิน และมีเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ด้านปัจจัยการผลิตด้านการเกษตรเพื่อให้ความรู้แก่สมาชิกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตรบางใหญ่--สมาชิกth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--นนทบุรีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleพฤติกรรมการซื้อปัจจัยการผลิตทางการเกษตรของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบางใหญ่ จำกัด จังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativePurchasing behavior of Agricultural Inputs of Members of Bang Yai Agricultural Cooperative Limited, Nonthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the personal factors affecting to purchasing behavior of Agricultural Inputs of Members of Bang Yai Agricultural Cooperative Limited 2) the economic factors affecting to purchasing behavior of agricultural inputs 3) the marketing mix factors affecting to purchasing behavior of agricultural inputs and 4) the recommendations for services. The population of the study was 1,647 members of Bang Yai Agricultural Cooperative Limited at the end of the fiscal year 31 December 2019. The sample size of 322 people was calculated by Taro Yamane with the error value of 0.05. The data was collected by using questionnaires. The quantitative analysis statistics used were frequency, percentage, mean, standard deviation and chi-square test at statistical significance level of 0.05. The qualitative analysis was content analysis. The results of this study showed that the most of the members of Bang Yai Agricultural Cooperative Limited were male, age over 50 years, education lower than secondary school, membership 5-10 years, agricultural income 10,000-15,000 baht per month, agricultural expenditure 5,000-10,000 baht per month, total debt less than 20,000 baht, and agricultural area less than 5 Rai. The marketing mix factors found that the total of members had the high level in product side, price side, distribution side, marketing promotion side, personnel side, physical side, and process side. The purchasing behaviors of agricultural inputs of the cooperative members found that the most of members bought fertilizer at 1,0 0 0 -5,0 0 0 baht, the frequency of purchases more than 4 times per year, and the reason for the purchase was received the average money back. 1) Personal factors affecting to purchasing behavior of agricultural inputs were gender, age, education, marriage status, number of members in the household, and membership duration 2) Economic factors affecting to purchasing behavior of agricultural inputs were average monthly agricultural income, average monthly others income, average monthly agricultural expenditure, average monthly other expenditure, total debt, and agricultural area. 3) Marketing mix factors affecting to purchasing behavior of agricultural inputs were product side, price side, distribution side, marketing promotion side, personnel side, physical side, and process side, and 4) Recommendations should have variety of agricultural inputs, price should be less than market price, separate zones of products, more payment methods, and have officer with knowledge of agricultural inputs to members.en_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons