Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1955
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุพิศ ประสพศิลป์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธัญญธร กอแก้ว, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-01T02:27:15Z-
dc.date.available2022-11-01T02:27:15Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1955-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความก้าวหน้าในงานอาชีพของพยาบาล วิชาชีพสังกัดกองทัพอากาศ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลหลัก ในการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพสังกัดกองทัพอากาศ ประกอบด้วย พยาบาลด้าน บริหาร จำนวน 3 คน ด้านปฎิบัติการ จำนวน 12 คน ผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่ม ได้แก่พยาบาลวิชาชีพ สังกัดกองทัพอากาศ ประกอบด้วยพยาบาลด้านบริหาร จำนวน 3 คน ด้านปฎิบัติการ จำนวน 1 คน นำข้อมูลที่ได้มา ถอดเทปแบบคำต่อคำ จัดกลุ่มข้อมูล วิเคราะห์เนื้อหาหลังการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ ข้อมูลหลักจนกระทั่งข้อมูลอิ่มตัว สร้างแผนผังมโนภาพ และจัดสนทนากลุ่มเพื่อยืนยันข้อค้นพบ ผลการวิจัย พบว่า ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึกและกลุ่มสนทนากลุ่มทั้งหมดเป็น เพศหญิงอายุ ระหว่าง 27 - 56 ปี เฉลี่ย 45 ปี มีประสบการณ์การทำงานในหน่วยงาน สังกัดกองทัพ อากาศ ระหว่าง 4-35 ปี เฉลี่ย 22 ปี ความก้าวหน้าในงานอาชีพของพยาบาลสังกัดกองทัพอากาศ สามารถสรุปได้ 4 กลุ่มได้แก่ (1) ความหมายของความก้าวหน้าประกอบด้วยการเลื่อนชั้นยศ การได้รับคำตอบแทนที่เหมาะสม การได้ทำงานที่แสดงความสามารถ การได้รับเกียรติและการ ยอมรับจากผู้ร่วมงาน และการได้ศึกษาต่อ (2) ที่มาของความกาวหน้า ได้แก่ (1) ความก้าวหน้ามา จากตัวเอง ประกอบด้วย การเตรียมพร้อมวางแผนความกาวหน้า การเตรียมพร้อมสำหรับการศึกษา ต่อ การสร้างความโดดเด่นให้กับตนเอง การกล้าเผชิญกับความท้าทายที่ถูกหยิบยื่น และ (2) ความก้าวหน้ามาจากองค์กรประกอบด้วยการสนับสนุนการศึกษาต่อการปรับค่าตอบแทนที่ เหมาะสม การให้โอกาสแสดงความสามารถ และการให้โอกาสเติบโตในสายงานอื่น (3) อุปสรรค ของความก้าวหน้า ได้แก่ การให้โอกาสก้าวหน้าตามอาวุโส ภาระครอบครัว/เศรษฐกิจ ภาระงาน ความจำกัดของอัตราชั้นยศ และ ระบบอุปถัมภ์ (4) ผลลัพธ์ของการอยู่กับความไม่ก้าวหน้า ได้แก่ การทำใจให้ยอมรับ การยอมรับกับการถูกจำกัด การแสดงความสามารถให้เป็นที่ประจักษ์และการ แสวงหาเส้นทางใหม่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชth_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพ -- ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleความก้าวหน้าในงานอาชีพของพยาบาลวิชาชีพสังกัดกองทัพอากาศth_TH
dc.title.alternativeA career advancement of professional nurses in Royal Thai Air Forceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this qualitative research was to explore the Career Advancement of the Royal Thai Airforce professional nurses. In-dept interview and focus group were used for collecting data. The former was performed with fifteen key informants of the following two groups: (1) three of the administration nurses (2) twelve of the professional nurses. Content analysis was used to derive themes and summary of the Career Advancement. In addition the focus group interview session was performed to cross-check the result. The participants of the session include three administration nurses and one professional nurse. The results showed that two parts were as follows 1) The key performances are female, age range from 27 to 56 years (mean age of 45 years), working experienced from 4 to 35 years (mean 22yeras) 2) The career advancement were four major as follows (1) the candidates defined the progression in professional career were ranking promotion, appropriate salary, the opportunity to work, social acceptability and the chance for continuing education. (2) the source of progression as follows (a) could be from individual: planning for the career advancement. planning for high education, challenged and prominent in subspecialty and chance for show one's capability (b) could be from organization: chance for study in higher degree, fare income, opportunity to work and chance for growth in another career path. (3) the barrier of the career advancement: chance of the progression are due to senior, the burden from family/financial, jobs, limited of rank and patronage system and (4) the options of inadequate progression are either acceptance, accept of the limited, show one's capability and seeking for the new channelen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib122087.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.83 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons