Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1959
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรชุลีย์ นิลวิเศษ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | รานีย์ ท่าโพธิ์, 2509- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-01T02:39:42Z | - |
dc.date.available | 2022-11-01T02:39:42Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1959 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (2) สภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกร (3) การยอมรับเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกร และ (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกร ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 50.04 ปี จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษาตอนปลาย เป็นสมาชิกกลุ่มผู้ปลูกข้าวโพดและกลุ่มลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร มีประสบการณ์การปลูกข้าวโพดเฉลี่ย 19.98 ปี ได้รับความรู้ข่าวสารจากผู้นาชุมชน เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร และการอบรม มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.61 คน เป็นแรงงานในครัวเรือน จ้าง และไม่เสียค่าจ้างเฉลี่ย 2.90 8.37 และ 10.04 คน ตามลำดับ มีพื้นที่ทาการเกษตรทั้งหมดและปลูกข้าวโพดเป็นของตนเองเฉลี่ย 40.18 และ 23.73 ไร่ ตามลาดับ ผลผลิตเฉลี่ยไร่ละ 767.13 กิโลกรัม ราคาเฉลี่ย กิโลกรัมละ 6.53 บาท มีรายได้และรายจ่ายจากการปลูกทั้งหมดเฉลี่ยปีละ 117,593.06 และ 59,052.42 บาท ตามลำดับ (2) สภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ส่วนใหญ่ดินเป็นดินร่วน พื้นที่ลาดเอียง ไม่มีการเก็บตัวอย่างดินและการปรับปรุงบำรุงดิน การเตรียมดินมีการไถดะและไถพรวนอย่างละ 1 ครั้ง โดยปลูกด้วยเครื่องปลูก ในช่วงต้นฤดูฝน ใช้พันธุ์ลูกผสมของภาคเอกชนเฉลี่ยไร่ละ 2.94 กิโลกรัม ระยะปลูก 75 X 25 เซนติเมตร ไม่มีการถอนแยก การใส่ปุ๋ยเคมีรองก้นหลุมครั้งที่ 1 สูตร 16-20-0 เฉลี่ยไร่ละ 24.88 กิโลกรัม และการใส่ปุ๋ยเคมีครั้งที่ 2 สูตร 46-0-0 เฉลี่ยไร่ละ 15.77 กิโลกรัม มีการใช้แรงงานคนและสารเคมีในการกาจัดวัชพืช แต่ใช้เฉพาะแรงงานคนในการเก็บเกี่ยวผลผลิต มีการคัดแยกฝักที่เสียออก และจะเก็บไว้ในยุ้งฉางก่อนแล้วจึงสีเป็นเมล็ดออกจำหน่าย และไม่มีการวัดความชื้นในเมล็ด (3) เกษตรกรมีการยอมรับเทคโนโลยีเชิงความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด และส่วนน้อยมีการยอมรับนำไปปฏิบัติในประเด็นการไถระเบิดดินดาน การจัดหา แม่ปุ๋ยมาผสมใช้เอง การตากเพื่อคัดคุณภาพ การให้น้ำระยะออกดอกและสร้างเมล็ด การเก็บตัวอย่างดินส่งวิเคราะห์ การถอนแยกหลังงอก การโรยปุ๋ยครั้งที่ 2 ข้างแถวข้าวโพด และการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ก่อนไถพรวน และ (4) เกษตรกร มีปัญหาในภาพรวมระดับปานกลาง และระดับมากที่สุดในเรื่องปัจจัยการผลิตมีราคาแพง แต่ราคาผลผลิตตกต่ำ โดยมีข้อเสนอแนะให้มีการรวมกลุ่มเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.242 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ข้าวโพด--การผลิต | th_TH |
dc.subject | เทคโนโลยีการผลิต--การผลิต | th_TH |
dc.title | การยอมรับเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรในจังหวัดเลย | th_TH |
dc.title.alternative | Technology adoption of the maize production by farmers in Loei Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.242 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study: (1) socio-economic condition of the farmers (2) the maize production condition by farmers (3) technology adoption of the maize production by farmers and (5) problems and suggestions for the maize production by farmers. The population in this research were 180 farmers who cultivated and joined the project to efficiency increase of maize production with District Office of Agricultural Extension, Loei Province in the year 2013. Through Yamane calculation, a size of 124 samples was identified by simple random sampling. Interview form was employed for data collection. Data analysis was conducted by computer package program using following statistics i.e. frequency, percentage, mean, minimum value, maximum value and standard deviation. The following was research findings. (1) Most of the farmers were male with their average age at 50.04 years. They completed highly primary education and were group members of maize production and customers of the Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives. Their average experience in maize production was 19.98 years. They received updated news from community leader, agricultural extension agents and from training. Their average number of household member was 4.61 persons. Their average number of household labor, hired and non-hired labor were 2.90, 8.37 and 10.04 persons respectively. Their total average agricultural area and occupied maize planting area were 40.18 and 23.73 rai respectively. Their average yield was 767.13 kg/rai with average price 6.53 baht/kg. Their average annual income and cost were 117,593.06 and 59,052.42 baht respectively. (2) The maize production condition, mostly planted in loam and slope area. There was neither collection of soil sample nor soil improvement. In soil preparation, they ploughed twice: primary and secondary tillage. Crop was planted by planter around early rainy season using hybrid variety from private sector averagely 2.94 kg/rai spacing 75x25 cm. without separate withdrawal. The first chemical fertilizer application at the bottom of the digging hole was formula 16-20-0, averagely 24.88 kg/rai. The second chemical fertilizer application was formula 46-0-0, averagely 15.77 kg/rai. Manpower and chemical substance were used in weed control. Only manpower was used in harvest, damaged ears of maize would be put away and yield would be stored first in their barn and milled into grains later for sale. However, there was no grain moisture measurement. (3) Technology adoption of the maize production by farmers was found at the highest level. Only a few adopted to practice the following issues; hard soil explosion, supplying single fertilizer to mix for their own application, drying to enhance quality, watering in flowering period and grain development, collecting soil sample for analysis, separate withdrawal after germination, spreading fertilizer for the second time nearby rows of maize, applying organic fertilizer before tillage and (4) Their overall problems were at medium level, and the highest level were high production factors cost but low priced products. They suggested forming a group to solve the mentioned problems. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
143737.pdf | เอกส่ารฉบับเต็ม | 14.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License