Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1965
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ภัทรนันท์ พิยะ, 2521- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-01T03:10:07Z | - |
dc.date.available | 2022-11-01T03:10:07Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1965 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ 1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) ระดับความรู้ตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพริก 3) สภาพการผลิตพริก 4) ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตพริก 5) ปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกรผู้ผลิตพริกใน ต.ยม อ.ท่าวังผา จ.น่าน ผลการวิจัย พบว่า เกษตรกรที่ได้รับการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี เกือบสองในสามเป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 49.14 ปี มีสมาชิกในครัวเรือน 4.07 คน จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา พื้นที่ปลูกพริกเฉลี่ย 2.54 ไร่ มีความรู้มากในเรื่องของพื้นที่ปลูกและการบันทึกข้อมูล มีความรู้น้อยในเรื่องกระบวนการก่อนเก็บเกี่ยวและสุขลักษณะส่วนบุคคล ปลูกพริกหลังจากปลูกข้าว ใช้พันธุ์พื้นเมือง เก็บเมล็ดไว้ทำพันธุ์เอง ไม่ทำแปลงปลูก ใช้แหล่งน้าธรรมชาติ ใช้บัวรดน้ำต่อสายยางรด ประสบปัญหาโรคกุ้งแห้งหรือแอนแทรคโนส มากที่สุด พบการระบาดของเพลี้ยไฟมากที่สุด ใช้สารเคมีในการป้องกันกำจัดโรคและแมลงศัตรูพริก มีต้นทุนเฉลี่ย 9,679.70 บาท/ไร่ มีปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 2,299.00 กิโลกรัม/ไร่ รายได้สุทธิ 21,856.00 บาท/ไร่ มีปัญหาเรื่อง ขาดความรู้เรื่องการใช้ชีววิธีในการป้องกันกำจัดศัตรูพืชและการป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่เหมาะสม ต้องการความรู้เรื่องการใช้ชีววิธีในการป้องกันกาจัดศัตรูพืชและการป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่เหมาะสม ส่วนเกษตรกรทั่วไป กว่าครึ่งเป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 49.86 ปี มีสมาชิกในครัวเรือน 3.93 คน จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา พื้นที่ปลูกพริกเฉลี่ย 2.36 ไร่ มีความรู้มากในเรื่องของพื้นที่ปลูกและแหล่งน้ำ มีความรู้น้อยในเรื่องสุขลักษณะส่วนบุคคล และกระบวนการก่อนเก็บเกี่ยว ปลูกพริกหลังจากปลูกข้าว ใช้พันธุ์พื้นเมือง เก็บเมล็ดไว้ทาพันธุ์เอง ไม่ทำแปลงปลูก ใช้แหล่งน้ำธรรมชาติ ใช้บัวรดน้ำต่อสายยางรด ประสบปัญหาโรคกุ้งแห้งหรือแอนแทรคโนส มากที่สุด พบการระบาดของเพลี้ยอ่อนมากที่สุด ใช้สารเคมีในการป้องกันกำจัดโรคและแมลงศัตรูพริก มีต้นทุนเฉลี่ย 7,650.10 บาท/ไร่ มีปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 2,122.60 กิโลกรัม/ไร่ รายได้สุทธิ 22,180 บาท/ไร่ มีปัญหาเรื่อง ขาดความรู้เรื่องการใช้ชีววิธีในการป้องกันกำจัดศัตรูพืชและการป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่เหมาะสม ต้องการความรู้เรื่องการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่เหมาะสม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.288 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พริก--การตลาด--ไทย--น่าน | th_TH |
dc.title | ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตพริกตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกรในตำบลยม อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน | th_TH |
dc.title.alternative | Costs and returns of Chili production adhering to good agricultural practice by farmers in Yom Sub-district, Tha Wang Pha District, Nan Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.288 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to comparative study 1) farmers’ fundamental, socio-economic circumstance 2) knowledge level adhering to Good Agricultural Practice for chili 3) chili production circumstance 4) cost and profit in chili production 5) problems and suggestions by farmers in Yom Sub-District, Tha Wang Pha District, Nan Province. The population in this study comprised chili farmers in Yom Sub-District, Tha Wang Pha District, Nan Province from 8 villages that produced chili in production cycle 2013/2014 numbering 304 famers 130 out of them were GAP farmers and the rest 173 general chili farmers. Identification of sample groups by Taro Yamane formula, a number of 173 samples were selected by simple random sampling with drawing lots, 74 out of them were GAP farmers and 99 general farmers. Instrument was interview form. Data was analyzed by frequency distribution, percentage, minimum value, maximum value, mean and standard deviation. The research results were as follows. 1) Nearly two-thirds of GAP farmers were male with the average age 49.14 years. Their average number of household members was 4.07 persons. They completed primary education. Their average chili planted area was 2.54 rai. They knew quite a lot in planting area and note record but knew very little in pre-harvest process and personal hygiene, planting chili after rice farming, using indigenous variety, keeping seeds for next planting, did not develop planting plot, using natural water resource, using watering pot and water hose, facing anthracnose and outbreak of thrips at the most and using chemical substance for pest control. Their average cost was 9,679.70 baht/rai with the average yield 2,299.00 kg./rai. Their net income was 21,856.00 baht/rai. Problem: lack of knowledge in using bio way for suitable pest control and prevention of pests. They needed knowledge in using bio way for suitable pest control and prevention of pests. For general farmers, over half of them were female with their average age at 49.86 years. Their average number of household members was 3.93 persons. They completed primary education. Their average chili planted area was 2.36 rai. They knew quite a lot in planting area and water resource but knew very little in personal hygiene and pre-harvest process, planting chili after rice farming, using indigenous variety, keeping seeds for next planting, did not develop planting plot, using natural water resource, using watering pot and water hose, facing anthracnose and outbreak of aphids at the most and using chemical substance for pest control. Their average cost was 7,650.10 baht/rai with the average yield 2,122.60 kg./rai. Their net income was 22,180.00 baht/rai. Problem: lack of knowledge in using bio way for suitable pest control and prevention of pests. They needed knowledge in using chemical substance correctly and for suitable prevention of pests. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
143740.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 28.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License