Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1966
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริรัตน์ สุวณิชย์เจริญth_TH
dc.contributor.authorธีราภรณ์ นวเกล้า, 2531-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2022-11-01T03:13:41Z-
dc.date.available2022-11-01T03:13:41Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1966en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินพื้นที่ที่อาจจะได้รับผลกระทบจากการรั่วไหล การลุกติดไฟ และการระเบิดจากถังกักเก็บก๊าซปิโตรเลียมเหลว และ (2) จัดทำร่างแผนฉุกเฉินเพื่อรองรับการรั่วไหล การลุกติดไฟ และการระเบิดของก๊าซปิโตรเลียมเหลวของโรงงานผลิตท่อร้อยสายไฟและอุปกรณ์ต่อเนื่องแห่งหนึ่ง การศึกษานี้ได้จําลองสถานการณ์การรั่วไหล การติดไฟ และการระเบิดของถังกักเก็บก๊าซปิโตรเลียมเหลวของบริษัทผลิตท่อร้อยสายไฟและอุปกรณ์ต่อเนื่อง ซึ่งมีลักษณะเป็นถังทรงกระบอก มีความยาว 2.92 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.68 เมตร วางในแนวนอนอยู่สูงจากพื้น 1 เมตร และมีการบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลว 85% ของถังกักเก็บ การจำลองเหตุการณ์จะใช้โปรแกรมอโลฮาในการประเมินการแพร่กระจาย และใช้แผนที่อิเล็กทรอนิกส์ในการแสดงพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ ผลจากการจําลองสถานการณ์ดังกล่าวจะนํามาใช้ในการจัดเตรียมร่างแผนฉุกเฉิน ผลการศึกษา พบว่า (1) ระยะทางไกลสุดจากถังเก็บกักที่ได้รับผลกระทบจากการจําลอง 3 สถานการณ์ได้ผลดังนี้ สถานการณ์ที่ 1 การเกิดกลุ่มหมอกไอระเหยสารพิษ พบว่า การกระจายของการรั่วไหลของก๊าซปิโตรเลียมเหลวที่ความเข้มข้นมากกว่า 5,500 พีพีเอ็ม (AEGL-1) จะครอบคลุมพื้นที่ในรัศมี 277 เมตร สถานการณ์ที่ 2 การเกิดกลุ่มหมอกก๊าซไวไฟ พบว่า ระยะที่พบค่าความเข้มข้นขั้นต่ำที่สามารถลุกติดไฟได้ 10% LEL) อยู่ในรัศมี 513 เมตร และสถานการณ์ที่ 3 การเกิดระเบิด พบว่า การแผ่รังสีพลังงานความร้อนในระดับที่มากกว่า 2.0 กิโลวัตต์ต่อตารางเมตร จะพบในรัศมี 415 เมตร และ (2) เมื่อพิจารณาระยะปลอดภัยในการอพยพออกจากสถานการณ์ดังกล่าว สามารถแบ่งแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินออกเป็น 3 ระดับดังนี้ ภาวะฉุกเฉินระดับที่ 1 กรณีเกิดกลุ่มหมอกไอระเหยของสารพิษ กำหนดพื้นที่อพยพ คือ บริเวณลานจอดรถหน้าโรงงาน 1 ภาวะฉุกเฉิน ระดับที่ 2 กรณีเกิดเพลิงไหม้ขั้นรุนแรง กำหนดพื้นที่อพยพ คือ บริเวณด้านหน้าโรงงานข้างเคียง และภาวะฉุกเฉิน ระดับที่ 3 กรณีเกิดการระเบิด กำหนดพื้นที่อพยพ คือ บริเวณถนนปู่เจ้าสมิงพรายและไปยังจุดรวมพลที่สถานีตำรวจth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectน้ำมันรั่วไหล--การป้องกันth_TH
dc.subjectการจัดการภาวะฉุกเฉินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรมth_TH
dc.titleการจำลองการรั่วไหล การลุกติดไฟ และการระเบิดของถังกักเก็บก๊าซปิโตรเลียมเหลว เพื่อจัดทำแผนรองรับเหตุฉุกเฉิน กรณีศึกษาบริษัทผลิตท่อร้อยสายไฟและอุปกรณ์ต่อเนื่องth_TH
dc.title.alternativeSimulations of leakage, combustion and explosion of a liquefied petroleum gas storage tank for emergency response planning : a case study of an electrical conduit and accessories manufacturing companyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were: (1) to assess the areas that might be affected by the leakage, combustion and explosion of liquefied petroleum gas (LPG) from a storage tank: and (2) to develop a draft emergency response plan for an LPG leakage, combustion and explosion in a factory producing electrical conduits and accessories. This study set up simulations of leakage, combustion and explosion of an LPG storage tank in an electrical conduit and accessories production factory. The storage tank was cylindrical. 2. 92 meters long and 1.68 meters in diameter, and horizontally located 1 meter above ground, and contained LPG at 85% of the tank volume. Incident simulations were performed using the ALOHA Program to assess the spatial dispersion and electronic maps to show the affected areas. The results of those simulations were considered in drafting an emergency response plan. The results show that: (1) there are three scenarios of affected areas with a maximum distance from the storage tank: Scenario 1, Toxic Vapor Cloud - the dispersion of LPG leakage with a concentration of more than 5.500 ppm (AEGL- 1) covering areas within a 277-meter radius: Scenario 2, Flammable Vapor Cloud - the minimum flammability value at 10% LEL in areas within a 513-meter radius: and Scenario 3, Vapor Cloud Explosion - the heat energy radiation of more than 2.0 kw/sq.m. covering areas within a 415-meter radius: and (2) considering the safety distance for evacuation from these scenarios, the emergency response plan covers three levels of emergency: Level 1 for Toxic Vapor Cloud, the designated evacuation area is the parking lot in front of the factory: Level 2 for a severe fire with Flammable Vapor Cloud, the designated evacuation area is the open space in front of a nearby factory: and Level 3 for Vapor Cloud Explosion, the designated evacuation area is the Pu Chao Saming Phrai roadside: and the assembly point was the nearby police stationen_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons