Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1969
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีนวล สถิตวิทยานันท์, 2495- อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธัญรดี จิรสินธิปก, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorญาณนี รัตนไพศาลกิจ, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-01T03:27:15Z-
dc.date.available2022-11-01T03:27:15Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1969-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนารูปแบบการนิเทศ ทางการพยาบาล (2) ศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการนิเทศทางการพยาบาล โรงพยาบาล เชียงคำ จังหวัดพะเยา กลุ่มตัวอย่างคือ หัวหน้าหอผู้ป่วยและรองหัวหน้าหอผู้ป่วยที่ปฏิบัติงานอยู่ในหอผู้ป่วย สูติ-นรีเวชกรรม ศัลยกรรม อายุรกรรม และกุมารเวชกรรม จำนวน 8 คน พยาบาลวิชาชีพ ประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยทั้ง 4 หอ จำนวน 34 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 4 ชุด คือ (1) แบบสำรวจสภาพการณ์การนิเทศทางการพยาบาล (2) แบบทดสอบความรู้การนิเทศทาง การพยาบาล (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้รับการนิเทศเกี่ยวกับประสิทธิภาพของรูปแบบ การนิเทศทางการพยาบาล และ (4) แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้นิเทศทางการพยาบาลเกี่ยวกับ ประสิทธิภาพของรูปแบบการนิเทศทางการพยาบาล เครื่องมือผ่านการตรวจสอบความตรงตาม เนี้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน และเครื่องมือชุดที่ 2 ,3 และ 4 มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.75 0.98 และ 0.97 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ทดสอบความต่างด้วยสถิติ t (paired I test) และ Wilcoxon matched - pair signed ranks test ผลการวิจัยพบว่า (1) รูปแบบการนิเทศทางการพยาบาลประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ คือ 1) การเตรียมผู้นิเทศ 2) การกำหนดข้อตกลง 3) การรับฟังปัญหา 4) การตรวจสอบความเข้าใจ และวางแผน 5) การนำไปปฏิบัติ 6) การทบทวนประเมินผลและสะท้อนกลับข้อมูล (2) ความรู้ เรื่องการนิเทศทางการพยาบาลของผู้นิเทศหลังการเสริมความรู้สูงกว่าก่อนเสริมความรู้ (3) ความ คิดเห็นของผู้รับการนิเทศเกี่ยวกับประสิทธิภาพของรูปแบบการนิเทศทางการพยาบาลก่อน และ หลังการใช้รูปแบบไม่แตกต่างกัน และ (4) ความคิดเห็นของผู้นิเทศเกี่ยวกับประสิทธิภาพของ รูปแบบการนิเทศทางการพยาบาลหลังใช้รูปแบบมี ค่าเฉลี่ยอันดับที่มาตรฐานสูงกว่าก่อนใช้รูป แบบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลเชียงคำ -- การบริหารth_TH
dc.subjectการพยาบาล -- ไทย -- พะเยาth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการนิเทศทางการพยาบาลโรงพยาบาลเชียงคำ จังหวัดพะเยาth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research and development were : (1) to develop a nursing supervision model, and (2) to study the efficiency of the nursing supervision model at Chiangkham Hospital, Phayao Province. The sample group included eight head nurses and subhead nurses and 34 professional nurses who worked at four in-patient departments: obstetric, surgery, medicine, and pediatric wards. Four research tools were used: a survey of the nursing supervision situational, : test of nursing supervision knowledge, and two questionnaires of the efficiency of the nursing supervision model. One is for supervisors and the other is for nurses. The content validity of these tools was verified by 5 experts. The Cronbach alpha reliability coefficients of the second, the third, and the fourth sets were 0.75,0.98, and 0.97 respectively. Data were analyzed by content analysis. Statistics used for data analysis were frequency, percentage, paired I test and Wilcoxon matched - pair signed ranks test. The research findings were as follows (1) The nursing supervision model consisted of 6 components 1) prepare supervisors, 2) contract, 3) listen, 4) explore, 5) action, and 6) review after action, evaluate, and reflect. (2) Post-test scores of nursing supervision knowledge were higher than pre-test scores. (3) There was no difference in the efficiency of implementing the supervision model by nurses before and after the experiment. Finally, (4) Supervisors rated the efficiency of the supervision model after implementation significantly higher than before, (p< .05)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib124299.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons