Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1984
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชื่นจิตร โพธิศัพท์สุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธนพร แย้มสุดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมหมาย รัตนนิตย์, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-01T08:19:31Z-
dc.date.available2022-11-01T08:19:31Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1984-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณภาพการบริหารการพยาบาล (2) การได้รับการ เสริมสร้างพลังอำนาจ และ (3) ความสามารถในการตัดสินใจของหัวหน้าหอผู้ป่วย (4) ความสัมพันธ์ ระหว่างการได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจ และความสามารถในการตัดสินใจของหัวหน้าหอผู้ป่วย กับคุณภาพการบริหารการพยาบาล ของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลรัฐ ระดับตติยภูมิ เขตตรวจราชการ สาธารณสุขที่ 6 และ 7 กลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลรัฐ ระดับตติยภูมิ เขตตรวจราชการ สาธารณสุขที่ 6 และ 7 จำนวน 12 แห่ง ซึ่งมีทั้งหมด 203 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม แบ่งเป็น 4 ตอน คือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) การได้รับการเสริมสร้างพลัง อำนาจ 3) ความสามารถในการตัดสินใจ และ 4) คุณภาพการบริหารการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน มีค่าความตรงตามเนื้อหาของ แบบสอบถามตอนที่ 2-4 เท่ากับ 0.99, 1 และ 1 ตามลำดับ และตรวจสอบความเที่ยงของแบบสอบถาม ด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค มีค่าเท่ากับ 0.95,0.94 และ 0.97 ตามลำดับ วิเคราะห์ ข้อมูลโดยหา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเที่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) คุณภาพการบริหารการพยาบาล ของหัวทน้าหอผู้ป่วยอยู่ในระดับสูง (2) การได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจ อยู่ในระดับปานกลาง (3) ความสามารถในการตัดสินใจของ หัวหน้าหอผู้ป่วย อยู่ในระดับสูง (4) การได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจของหัวหน้าหอผู้ป่วยมี ความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพการบริหารการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย ในระดับปานกลาง (r = 0.39) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และความสามารถในการตัดสินใจของหัวหน้าหอผู้ป่วยมี ความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพการบริหารการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย ในระดับสูง (r = 0.77) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.67en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการตัดสินใจth_TH
dc.subjectการพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจความสามารถในการตัดสินใจกับคุณภาพการบริหารการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลรัฐระดับตติยภูมิเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 6 และ 7th_TH
dc.title.alternativeThe relationship between empowerment, ability to make decisions and quality of nursing management of head nurse in Hospital at the Tertiary care level, public Health Inspection region 6 and 7th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2010.67en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: (1) to study quality of nursing management, (2) to analyze the basis of empowerment, (3) to explore ability to make decision of head nurses, and (3) to investigate the relationships between empowerment, ability to make decision, and quality of nursing management of head nurses in hospitals at the tertiary care level, Public Health Inspection Region 6 and 7. The sample consisted of 203 head nurses selected from hospitals at the tertiary care level, Public Health Inspection Region 6 and 7 by using the stratified random sampling technique. Research instruments are questionnaires comprising four sections: personal factors, empowerment, ability to make decisions, and quality of nursing management of head nurses. These questionnaires were tested for content validity by five experts. The content validity of the second to the fourth sections were 0.99, 1, and 1. The Cronbach’ ร alpha reliability coefficients of the second to the fourth sections were 0.95, 0.94, and 0.97 respectively. The statistical devices used for data analysis were included percentage, means, standard deviation, and Pearson’s product moment correlation coefficient. The research findings were the following. (1) Head nurses rated their quality of nursing management at the high level. (2) They rated their empowerment at the moderate level. (3) They rated their ability to make decision at the high level. Finally, (4) empowerment correlated significantly positively with quality of nursing management at the moderate level (r = 0.39,p < 0.05). Ability to make decision correlated significantly positively with the quality of nursing management at the high level (r = 0.77, p < 0.05)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib124797.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons