Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1985
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมุกดา หนุ่ยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษา.th_TH
dc.contributor.advisorวรรณี ตปนียากร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจุฑารัตน์ บันดาลสิน, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-02T02:01:00Z-
dc.date.available2022-11-02T02:01:00Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1985-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับผลผลิตในงานของพยาบาลวิชาชีพ การเสริมสร้างพลังอำนาจ การทำงานเป็นทีม และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ (2) ศึกษาความสัมพัมธ์ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจ การทำงามเป็นทีม แรงจุงใจใฝ่สัมฤทธิ กับผลผลิตใน งานของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) ศึกษาตัวแปรพยากรณ์ผลผลิตในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสังกัด กองทัพบก กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก ที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน มากกว่า 1 ปี จำนวน 357 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 5 ตอน คือ (1) ข้อมูลส่วนบุคคล (2) การเสริมสร้างพลังอำนาจ (3) การทำงานเป็นทีม (4) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ และ (5) ผลผลิตในงานของพยาบาลวิชาชีพ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 4 ท่าน ได้ค่าดัชนีตามตรงเชิงเนื้อหาทั้งฉบับ 0.96 และวิเคราะห์ความเที่ยงของแบบสอบถามโดยคำนวณ ค่าสมประสิทธิครอนบาคแอลฟาของตอนที่ 2,3,4 และ 5 ได้ 0.97, 0.96, 0.92 และ 0.89 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเที่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สทสัมพันธ์ ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ การทำงามเป็นทีม และผลผลิตในงานของ พยาบาลวิชาชีพ โดยรวมอยู่ในระดับสูง ส่วนระดับการเสริมสร้างพลังอำนาจของพยาบาลวิชาชีพ โดยรวมอยู่ใน ระดับปานกลาง (2) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ การทำงานเป็นทีม และการเสริมสร้างพลังอำนาจมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลผลิตในงานของพยาบาลวิชาชีพ ในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 (r= 0.641, 0.459 และ 0.440 ตามลำดับ) (3) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ และการทำงานเป็นทีม สามารถพยากรณ์ผลผลิตในงานของพยาบาลวิชาชิพ โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก ได้ร้อยละ 44.4 (R2 = .444) และสามารถเขียนสมการพยากรณ์ผลผลิตในงานของพยาบาลวิชาชีพ ในรูปแบบของคะแนนดิบได้ดังนี้ ผลผลิดในงานของพยาบาลวิชาชีพ = 1226 + 0.529 แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ +0.171 การทำงามเป็นทีมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.246en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก -- การทำงานth_TH
dc.subjectการทำงานเป็นทีมth_TH
dc.subjectแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์th_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจ การทำงานเป็นทีม แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ กับผลผลิตในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลสังกัดกองทัพบกth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between empowerment, teamwork, achievement motivation and work productivity of professional nurses in the Royal Thai Army Hospitalsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.246en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to study the level of empowerment, teamwork, achievement motivation and work productivity as perceived by professional nurses; (2) to investigate the relationship between empowerment, teamwork, achievement motivation and work productivity; and (3) to determine predicted variables of work productivity of professional nurses in The Royal Thai Army Hospitals. Multistage random sampling was used for selecting 357 subjects from 1,495 professional nurses who had worked for at least 1 year in The Royal Thai Army Hospitals. The research tools used for collecting the data were questionnaires comprising 5 sections: (1) personal data (2) empowerment (3) teamwork (4) achievement motivation and (5) work productivity. These questionnaires were tested for content validity and reliability. The content validity indexes (CVI) was 0.96; while, the Cronbach alpha coefficients of the second to the fifth sections were 0.97,0.96, 0.92 and 0.89 respectively. Research data were analyzed by descriptive statistics (percentage, mean, and standard deviation), Pearson product moment correlation coefficient, and Stepwise multiple regression analysis. The major finding were as follows: (1) Professional nurses rated their achievement motivation, teamwork, and work productivity at the high level. However, they rated their empowerment at the moderate level. (2) There was a significantly positively moderate relationship between empowerment, teamwork and achievement motivation with their work productivity (p<.01, r= 0.641, 0.459, and 0.440 respectively). (3) Achievement motivation and teamwork predicted work productivity. These predictors accounted for 44.4 (R2 = .444). Finally, the predictive equation was constructed as below. work productivity = 1.226+ 0.529 achievement motivation+0.171 teamworken_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib125071.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons