Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1986
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | วัลลภา บุญรอด, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | สุมิตรา มิ่งมิตร, 2501- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-02T02:42:53Z | - |
dc.date.available | 2022-11-02T02:42:53Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1986 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบบันทึกทางการพยาบาล ใน ห้องคลอด โรงพยาบาลค่ายสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มเป้าหมายคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในห้องคลอด โรงพยาบาลค่ายสุรนารี ทั้งหมด จำนวน 10 คน การวิจัยแบ่งเป็น3 ระยะ ได้แก่ (1) ศึกษาสถานการณ์การบันทึกทางการพยาบาล ในห้องคลอดโดยทบทวน วรรณกรรม สุ่มเวชระเบียนผู้คลอด จำนวน 30 ราย เพื่อประเมินความถูกต้องและสมบูรณ์ของบันทึกทางการพยาบาล และ สัมภาษณ์เจาะลึกพยาบาลวิชาชีพ 6 คน (2) พัฒนารูปแบบบันทึกทางการพยาบาลในห้องคลอด โรงพยาบาลค่ายสุรนารี โดยการจัดสนทนากลุ่ม 2 ครั้ง (3) นำรูปแบบไปทดลองใช้ในห้องคลอด โรงพยาบาลค่าย สุรนารี เป็นเวลา 3 เดือน ประเมินและปรับปรุงรูปแบบโดยการสนทนากลุ่มประเมินความสมบูรณ์ของบันทึก ทางการพยาบาล จากเวชระเบียนทุก 1 เดือน รวม 2 ครั้ง และ ให้พยาบาลวิชาชีพประเมินความพึงพอใจต่อรูปแบบบันทึกทางการพยาบาลก่อนและหลังการปรับปรุง เครื่องมือที่ใซ้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบประเมินความสมบูรณ์ของบันทึกทางการพยาบาล ในเวชระเบียนซึ่งกองการพยาบาลโรงพยาบาลค่ายสุรนารี พัฒนาขึ้นและแบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบบันทึกทางการพยาบาลในห้องคลอด ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า ระยะที่ 1 แบบฟอร์มที่ใช้ในการบันทึกทางการพยาบาล ในห้องคลอดมี จำนวน มากเกินไป มีการบันทึกกิจกรรมการพยาบาลเดียวกันในหลายแบบฟอร์ม ขาดการมอบหมายผู้บันทึกในแต่ละ ขั้นตอนอย่างชัดเจน หัวข้อในแบบการวินิจฉัยและวางแผนการพยาบาลไม่ครอบคลุม และความสมบูรณ์ของบันทึก ทางการพยาบาลในเวชระเบียน เท่ากับร้อยละ 72.24 ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ที่กองการพยาบาลกำหนดไว้คือ รัอยละ 80 ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบ ได้แก่ การกำหนดจำนวนแบบฟอร์ม การบันทึกให้คงเทลือ 4 แบบฟอร์ม ได้แก่ 1) แบบประเมินสภาพแรกรับ 2) แบบการวินิจฉัยและวางแผนการพยาบาล 3) แบบพาโทกราฟ และ ง) ใบสรุป ประวัติการคลอดโดยปรับหัวข้อในแบบวินิจฉัยและวางแผนการพยาบาล ให้ชัดเจน กำหนดผู้บันทึก ในแต่ละ ขั้นตอน ระยะที่ 3 การนำรูปแบบไปทดลองใช้ในห้องคลอดและปรับปรุง ผลการประเมินความสมบูรณ์ของ การบันทึกทางการพยาบาลในเวชระเบียนผู้คลอด หลังทดลองใช้ 2 ครั้ง พบว่า เพิ่มขึ้นเป็นรัอยละ 91.35 และ 93.43 ตามลำดับ และความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพต่อการใช้รูปแบบบันทึกทางการพยาบาลก่อนและหลัง การปรับปรุงเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 60.21 เป็นร้อยละ 69.40 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/ 10.14457/STOU.the.2011.244 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลค่ายสุรนารี | th_TH |
dc.subject | การพยาบาล | th_TH |
dc.subject | พยาบาล | th_TH |
dc.subject | การทำงาน | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบบันทึกทางการพยาบาลในห้องคลอด โรงพยาบาลค่ายสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา | th_TH |
dc.title.alternative | The development of a nursing record model for the delivery room at fort Suranari Hospital in Nakhon Ratchasima province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2011.244 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this participatory action research was to develop a nursing record model for the delivery room at Fort Suranari Hospital in Nakhon Ratchasima Province. The sample of this study consisted of ten professional nurses who worked at the delivery room in Fort Suranari Hospital. The research was divided into three phases. First, situational analysis was done by reviewing the literature, auditing thirty medical records of the delivery room for accuracy and completeness of nursing records, and in-depth interviewing of six professional nurses. Second, the preliminary model was developed based on two focus group discussions of professional nurses. Third, the model was implemented and modified for three months. The accuracy and completeness of nursing records was evaluated every month for two months. Furthermore, the professional nurses rated their satisfaction with these records before and after model implementation. The instruments of this research were the evaluation form of the accuracy and completeness of the nursing record developed by the nursing division of Fort Suranari Hospital and satisfaction questionnaires developed by the researcher. Data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation, and content analysis. Findings were summarized as follows. Phase I: there were too many nursing record forms. The same nursing intervention was recorded in several different forms. No one was explicitly assigned as a recorder in each step. The topics of nursing diagnosis and of a nursing care plan form were inadequate. The accuracy and completeness of these nursing records were 72.24% which was lower than the standard of nursing division (80%). Phase II: the nursing record model was developed. In this, only four nursing record forms were selected: 1) an assessment form, 2) a nursing diagnosis and nursing care plan, 3) a partograph, and 4) a summary of delivery record. Next, the topics in nursing diagnosis and in a nursing care plan form were reorganized. Recorders were assigned for each stage. Phase III, the modified model was implemented and improved. The accuracy and completeness of nursing records were increased from 91.35% to 93.43% respectively during each month for two months. The professional nurses rated their satisfaction with the record model after (69.40%) implementing higher than before (60.21%) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib125072.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License