กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1995
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorศรีนวล สถิตวิทยานันท์th_TH
dc.contributor.authorมณฑา วงศ์ประเสริฐ, 2515-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-02T04:12:05Z-
dc.date.available2022-11-02T04:12:05Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1995en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาผลของการฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสมของผู้บริหารการพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน ในอำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี (2) เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้บริหารการพยาบาลใรงพยาบาลชุมชน ในอำเภอไทรใยค จังหวัดกาญจนบุรี ต่อการฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสม กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหารการพยาบาลที่ได้รับการคัดเลือกแบบเจาะจง และสุ่มเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองอย่างละ 15 คน เครื่องมีอที่ใช้ในการทดลองคือ (1) โปรแกรมฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสมของผู้บริหารการพยาบาล ตามแนวคิดของ Clark(1978) (2) แบบประเมินพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่ เหมาะสมสำหรับผู้บริหารการพยาบาลประเมินตนเอง (3) แบบประเมินพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสม สำหรับหัวหน้ากลุ่มการพยาบาล และ (4) แบบประเมินความพึงพอใจต่อการฝึกเครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่านและเครื่องมือฉบับที่ (2) (3) และ (4) ค่าความเที่ยงเท่ากับ .96, .89และ .94 ตามลำดับ ใช้เวลาในการฝึกอบรม จำนวน 6 สัปดาห์ ๆ ละ 1ชั่วโมง 30 นาที เก็บข้อมูลพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสมของกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองก่อนและหลังการฝึกอบรม 1 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าเที่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ สถิติทดสอบค่าทีและทดสอบความแปรปรวนร่วม ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้บริหารการพยาบาลที่ได้รับการฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสมมี คะแนนประเมินพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value< .001) (2) ผู้บริหารการพยาบาลกลุ่มที่ได้รับการฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสม มีคะแนนประเมินพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสมสูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<.(X)l) (3) ผู้บริหารการพยาบาลที่ได้รับการฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสม มีคะแนนความพึงพอใจต่อการฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสมในภาพรวมในระดับมาก ร้อยละ 100th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.308en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการแสดงออก (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลชุมชน--ไทย--กาญจนบุรีth_TH
dc.titleผลการฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสมสำหรับผู้บริหารการพยาบาลโรงพยาบาลชุมชนในอำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรีth_TH
dc.title.alternativeEffective of assertive behavior training for head nurses in Saiyok Community Hospital Kanchanaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.308en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this quasi-experimental research were ะ (1) to study the effective of assertive behavior training for head nurses in Saiyok Community Hospital Kanchanaburi Province.^) to study the satisfaction of assertive training program. The sample were consisted of 30 head nurses who working in Saiyok Community Hospital. The sample were randomized to two groups. The experimental group and control group were related 15 head nurses. Four tools were(i)the assertive behavior training programothe manual of assertive behavior evaluation (3) the assertive behavior evaluation by supervisor nurse and (4) the satisfaction of assertive training program tested content validity from five expert and tested for reliability were .96, .89 and .94 respectively. According to the study, head nurses of experimental group were received training of assertive behavior Clark (1978). After training 6 times one a week, one hour and a half for each time were complete a manual of assertive behavior evaluation and supervisor nurse evaluated assertive behavior of head nurses. Study data were analyzed by using mean, standard deviation , percentage , t-test and ANCOVA. The findings were as follows: (1) The scores of assertive behavior evaluation in experimental group after received assertive behavior training were significantly higher than control group (p-value < .001) (2) The scores of assertive behavior evaluation in experimental group that received assertive behavior training were significantly higher than control group (p-value < .001) (3) The scores of satisfaction in assertive training program very satisfied 100%.en_US
dc.contributor.coadvisorรัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน์th_TH
dc.contributor.coadvisorนิธิพัฒน์ เมฆขจรth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Nurse-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Thesbib127861.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.88 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons