Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2006
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorภรณี ต่างวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพรกมล ศรีจริยา, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-03T03:48:28Z-
dc.date.available2022-11-03T03:48:28Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2006-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพทำงสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรผู้ปลูกลำไย (2) ศักยภาพในการผลิตลำไยตามระบบเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกร และ (3) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการผลิตลำไยตามระบบเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกร ผลการศึกษา พบว่า (1) เกษตรกรที่ให้ข้อมูลส่วนมากเป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 51.75 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ากว่า มีประสบการณ์ในการผลิตลำไยเฉลี่ย 13.61 ปี จานวนสมาชิกที่อาศัยอยู่จริงในครัวเรือนเฉลี่ย 3.61 คน เกือบกึ่งหนึ่งเป็นสมาชิกกลุ่มผู้ปลูกลำไยและประกอบอาชีพทำสวน พื้นที่ทำการเกษตรเป็นของตนเองเฉลี่ย 15.79 ไร่ ส่วนใหญ่ได้รับความรู้ด้านการเกษตรจากญาติพี่น้อง เพียงหนึ่งในสามมีประสบการณ์การฝึกอบรมและศึกษาดูงานการผลิตพืชตามระบบเกษตรอินทรีย์ (2) ส่วนใหญ่มีแรงงานการเกษตรในครัวเรือนจำนวน 1-2 คน ในภาพรวมเกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการปลูกพืชตามระบบเกษตรอินทรีย์อยู่ในเกณฑ์มาก เจตคติของเกษตรกรต่อการผลิตลำไยตามระบบเกษตรอินทรีย์ อยู่ในระดับมากที่สุด การปฏิบัติของเกษตรกรที่สอดคล้องกับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เกษตรกรปฏิบัติเป็นประจำ จำนวน 6 ประเด็น ปฏิบัติเป็นบางครั้ง จำนวน 3 ประเด็น และไม่ปฏิบัติ จำนวน 5 ประเด็น (3) เกษตรกรปัญหาในการผลิตลำไยตามระบบเกษตรอินทรีย์ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลำง โดยเกษตรกรมีปัญหาในระดับมาก ใน 3 ประเด็น โดยเรียงตามลำดับ ได้แก่ ปัจจัยและแรงงานในการผลิตลำไย ศัตรูลำไยและการป้องกันกำจัด และ หน่วยงานและเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ปัญหาในระดับปานกลาง คือ การตลาดและคุณภาพผลผลิตลำไย และปัญหาในระดับน้อยที่สุด คือ สภาพดินและน้าในการผลิตลำไย ข้อเสนอแนะของเกษตรกรโดยภาพรวม มีความต้องการในการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตลำไยตามระบบเกษตรอินทรีย์มากที่สุดในทุกประเด็นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.127-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectลำไย--การผลิต--ไทย--ตากth_TH
dc.titleศักยภาพการผลิตลำไยอินทรีย์ของเกษตรกรในจังหวัดตากth_TH
dc.title.alternativePotentials in Organic Longan Production of Farmers in Tak Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.127-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
144583.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.56 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons