Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2008
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรชุลีย์ นิลวิเศษ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | บำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | จินตนา ศรีตะวัน, 2528- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-03T04:01:58Z | - |
dc.date.available | 2022-11-03T04:01:58Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2008 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) สภาพการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกร (3) สภาพการตลาดปาล์มน้ำมันของเกษตรกร (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกรในจังหวัดบึงกาฬ ผลการวิจัย พบว่า (1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 51.97 ปี จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา เป็นสมาชิกกลุ่มหรือสถาบันเกษตรกร แหล่งความรู้ในการผลิตปาล์มน้ำมัน คือ เพื่อนเกษตรกร จำนวนสมาชิกในครัวเรือนและเป็นแรงงานเกษตรเฉลี่ย 4.08 คน และ 2.49 คน ตามลาดับ รายได้จากการทำสวนปาล์มน้ำมัน เฉลี่ย 49,039.55 บาท ในพื้นที่เฉลี่ย 12.86 ไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 1,421.90 กิโลกรัมต่อไร่ (2) สภาพการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกร ลักษณะพื้นที่เป็นที่ลุ่ม สภาพดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียว อยู่นอกเขตชลประทาน ทุกรายปลูกพันธุ์เทเนอร่า ส่วนใหญ่ซื้อพันธุ์ปาล์มจากศูนย์วิจัยปาล์มน้ำมัน ระยะปลูก 9 x 9 เมตร ในระยะก่อนให้ผลผลิตมีการใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตราปุ๋ยเฉลี่ย 1.83 กิโลกรัมต่อต้นต่อปี โดยวิธีหว่านเฉลี่ย 2.04 ครั้งต่อปี ในระยะหลังให้ผลผลิตมีการใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตราเฉลี่ย 2.01 กิโลกรัมต่อต้นต่อปี โดยวิธีหว่านเฉลี่ย 1.98 ครั้งต่อปี ไม่มีระบบการให้น้ำ มีการตัดแต่งทางใบเมื่อปาล์มน้ำมันอายุ 4 ปี ขึ้นไป หรือเมื่อเริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิตครั้งแรก แล้วนาทางใบที่ตัดแต่งมาจัดเรียงรอบโคนต้นหรือกองไว้บริเวณแถวของต้น เก็บผลปาล์มน้ำมันที่ร่วงหล่นอยู่บริเวณโคนต้น และทำความสะอาดเครื่องมืออุปกรณ์โดยลับให้คมเสมอ มีการป้องกันกำจัดโรคแมลงศัตรูพืชและวัชพืชโดยการเขตกรรม ในการเก็บเกี่ยวเดือนละ 2 ครั้ง ใช้แรงงานตนเอง โดยการใช้เสียมแทงทะลายที่มีอายุไม่เกิน 8 ปี (3) สภาพการตลาดปาล์มน้ำมัน เกษตรกรส่วนใหญ่รับทราบความเคลื่อนไหวทางด้านราคาและข่าวสารการตลาด ตลอดจนไปปรึกษาปัญหาการตลาดจากเพื่อนเกษตรกร และรับทราบข้อมูลในครัวเรือนจากโทรทัศน์ ความสุกของผลปาล์มน้ำมันมีผลต่อราคา วิธีการจัดการกับผลผลิตเมื่อราคาตกต่าคือการต่อรองราคา เกษตรกรมีการรวมกลุ่มกันนามาขายให้กับลานเทสหกรณ์ในรูปผลทะลายปาล์มสดสภาพเดิมไม่ได้ตัดแต่ง โดยผู้ซื้อซึ่งเป็นตัวแทนจากโรงงานสกัดน้ำมันจะเป็นผู้กาหนดราคาขาย เกณฑ์การพิจารณาในการขายคำนึงถึงความสะดวกและต้นทุนในการขนส่ง (4) ปัญหาการผลิตและการตลาดในการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกรในภาพรวมระดับปานกลาง และระดับมาก ตามลาดับ โดยปัญหาการตลาดระดับมากที่สุด คือ ราคาตกต่าไม่มีเสถียรภาพ ปัญหาการตลาดระดับมาก ได้แก่ การคัดเกรดทาได้ยากเพราะไม่มีมาตรฐาน ข้อมูลข่าวสารด้านการตลาดไม่ทั่วถึง ไม่มีการกำหนดราคาตามคุณภาพ และแหล่งรับซื้อปาล์มน้ำมันอยู่ห่างไกลและมีน้อย โดยมีข้อเสนอแนะให้มีแหล่งและโรงงานรับซื้อผลผลิตในชุมชนมากขึ้น ราคาควรจะมีเสถียรภาพและมีการประกันราคา มีมาตรฐานให้กับแหล่งรับซื้อของกลุ่มสหกรณ์ และมีการวางแผนการการตลาด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | other | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.193 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ปาล์มน้ำมัน--การผลิต | th_TH |
dc.subject | ปาล์มน้ำมัน--การตลาด--ไทย--บึงกาฬ | th_TH |
dc.title | การผลิตและการตลาดปาล์มน้ำมันของเกษตรกรในจังหวัดบึงกาฬ | th_TH |
dc.title.alternative | Oil palm production and marketing by farmers in Buengkan Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.193 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study: (1) socio-economic circumstance of farmers (2) oil palm production circumstance of farmers (3) oil palm marketing circumstance of farmers (4) problems and suggestions for oil palm production by farmers in Buengkan Province. The population in this research was a number of 338 oil palm farmers that already yielded in 8 districts of Buengkan Province. With Yamane sample size calculation which determined a number of 184 samples by accidental random sampling at the dumping area for purchasing oil palm fruits. Instrument for data collection was interview form. Data analysis was conducted by computer package program. Statistics used were frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean and standard deviation. Research findings were as follows. (1) Socio-economic circumstance of farmers, most of them was male with their average age at 51.97 years, completed primary education. They were members of agricultural group or institute. Source of knowledge for oil palm production was their agricultural friends. Their average number of household member and agricultural labor were 4.08 persons and 2.49 persons respectively. Their average income from oil palm plantation was 49,039.55 baht. The average yield in the average 12.86 rai was 1,421.90 kg/rai. (2) Oil palm production circumstance of farmers was in low land, clay loam, out of irrigation area. All of them planted Tenera oil palm which bought from the Oil Palm Research Center, spacing 9x9 m. Prior to yielding, chemical fertilizer formula 15-15-15 was used with average ratio 1.83 kg/tree/year by average broadcasting 2.04 times/year. After yielding, chemical fertilizer formula 15-15-15 was used with average ratio 2.01 kg/tree/year by average broadcasting 1.98 times/year. Watering system was not found but leafs rejuvenation was carried out when oil palms aged over 4 years or when started the first harvest. Then the cut leafs would be placed around the base of the tree or placed nearly the tree. Fallen oil palm fruits were collected. Equipment was kept cleaned by sharpening at all the time. Pest control was done by cultural practice. Harvest was done twice a month by their own labor using spade to stab oil palm cluster aged below 8 years. (3) Marketing circumstance of oil palm, most of the farmers had learned about price movement and marketing news, also consult marketing problem with their famer fellows, and learned about household news from television. Ripeness of oil palm appeared to affect the price. Their way to deal with low priced products was bargaining. Altogether, they formed a group and brought their products, fresh cluster of oil palm to sell to the cooperatives ground without any cutting. Buyers were representatives from the plant extracting oil that would set the selling price. Convenience and cost in transportation was criteria for sale consideration. (4) The overall problems of oil palm production and marketing of the farmers was at medium level and high level respectively. The marketing problem appeared to be the highest level; low priced and unstable price. The marketing problem at high level included following: difficult to do grading selection since there was no standard; not widely disseminated in marketing information; not identified price as of quality; and far away and not many purchasing source. They suggested establishing more sources and processing plants to purchase more community products; setting up stable price and price insurance scheme; setting up standard for purchasing points of the cooperatives group; and preparing marketing plan. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
144586.pdf | เอกสาณฉบับเต็ม | 16.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License