Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2014
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปริศนา นวลบุญเรือง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวิไล กุศลวิศิษฎ์กุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจันทนา แก้วฟู, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-03T07:18:48Z-
dc.date.available2022-11-03T07:18:48Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2014-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการบริหารความเสี่ยงด้าน ความคลาดเคลื่อนทางยาเจตคติในการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยา และภาระงานของของพยาบาลวิชาชีพ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติในการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาภาวะงาน กับ การบริหารความเสี่ยง ด้านความคลาดเคลื่อนทางยาของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) ศึกษาตัวแปรที่ร่วมกันทำนายการบริหารความเสี่ยง ด้านความคลาดเคลื่อนทางยาของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ภาคเหนือ จำนวน 249 คน ซึ่งได้จาก การสุ่มตัวอย่างเชิงเดียว เครึ่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบ่งเป็น 4 ส่วน คือ ข้อมูลส่วนบุคคล การบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยา เจตคติในการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยา และภาระงาน ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนึ้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ วิเคราะห์ค่าความเที่ยงแบบสอบถามส่วนที่ 2-4 โดย ใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้เท่ากับ 0.94, 0.96 และ 0.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ แจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) การบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยามีค่าเฉลี่ยของคะแนน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เจตคติในการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยามีค่าเฉลี่ยของคะแนนโดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด และภาระงานมีค่าเฉลี่ยของคะแนนโดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) เจตคติในการป้องกันความคลาดเคลื่อน ทางยามีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง และภาระงามมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับน้อยที่สุด กับการ บริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) เจตคติในการป้องกัน ความคลาดเคลื่อนทางยาสามารถทำนายการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาของพยาบาลวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของการบริหารความเสี่ยงด้านความ คลาดเคลื่อนทางยาได้ร้อยละ 31.3 (R2= 0.313) และสามารถสร้างสมการทำนายในรูปคะแนนดิบได้ดังนี้ การบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยา = 18.045+1.166 เจตคติในการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.234en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารความเสี่ยงth_TH
dc.subjectยา -- การบริหารth_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพ -- ไทย (ภาคเหนือ)th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ภาคเหนือth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting risk management of medication errors by professional nurses at regional hospitals in the Northern Regionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.234en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive study were: (1) to study the risk management of medication errors, attitudes to prevent medication errors, and workload of professional nurses, (2) to explore the correlation among attitude to prevent medication errors, workload, and the risk management of medication errors of professional nurses, and (3) to identify the predictor variables of the risk management of medication errors by professional nurses. The sample comprised 249 professional nurses who worked for regional hospitals in the northern region. They were selected by the simple random sampling technique. Questionnaires were used as research tools and comprised four section: personal data, the risk management of medication errors, attitude to prevent medication errors, and workload. The questionnaires were tested for validity and reliability. The reliabilities of the second to the fourth section were done by Cronbach.’s alpha coefficient. The reliabilities were 0.94, 0.96, and 0.96 respectively. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson product moment correlation, and stepwise multiple regression analysis. The major findings were as follows. (1) Professional nurses rated their risk management of medication errors at the high level, their attitude to prevent medication errors at the high level, and their workload at the high level. (2) There were significant positive relationships between (a) the risk management of medication errors and the attitude to prevent medication errors at the moderate level (r = 0.560), and (b) also related to the workload at the minimal level (r = 0.144). (3) The attitude to prevent medication errors could predict the risk management of medication errors. This predictors accounted for 31.3% (R2= 0.313). Finally, the predictive equation is constructed below. Risk management of medication errors = 18.045 + 1.166 attitude to prevent medication errorsen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib128841.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons