Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2020
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิตยา เพ็ญศิรินภา | th_TH |
dc.contributor.author | อัญชนา กิจแก้ว | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-04T02:43:39Z | - |
dc.date.available | 2022-11-04T02:43:39Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2020 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม. (บริหารโรงพยาบาล))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กนักเรียนประถมศึกษา (2) ปัจจัยส่วนบุคคล การเสริมพลังอำนาจ และการสนับสนุนของโรงพยาบาลแม่ข่าย (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล การเสริมพลังอำนาจ และการสนับสนุนของโรงพยาบาลแม่ข่าย กับการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กนักเรียนประถมศึกษา และ (4) ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ ในการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กนักเรียนประถมศึกษา เขตสุขภาพที่ 6 ประชากรที่ศึกษา คือเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานประจำที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในเขตสุขภาพที่ 6 จำนวน 334 คน กลุ่มตัวอย่าง 200 คน ได้จากการสุ่มแบบชั้นภูมิตามสัดส่วนของ เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขในแต่ละจังหวัด เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามที่มีความเที่ยง เท่ากับ 0.97 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) การดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กนักเรียนประถมศึกษาอยู่ในระดับสูง (2) ปัจจัยส่วนบุคคลของเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 30.97 ปี การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ปฎิบัติงานในตำแหน่งข้าราชการ ได้รับการฝึกอบรมในรอบ 1 ปี ร้อยละ 40.0 การเสริมพลังอำนาจและการสนับสนุนของโรงพยาบาลแม่ข่าย อยู่ในระดับปานกลาง (3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กนักเรียนประถมศึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ การเสริมพลังอำนาจ และการสนับสนุนของโรงพยาบาลแม่ข่าย และ (4) ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพ ในเด็กนักเรียนประถมศึกษาตามมุมมองของเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 ที่สำคัญ คือ การกรอกข้อมูลซ้าซ้อน ระบบการเก็บข้อมูลไม่เป็นมาตรฐาน ผู้ช่วยงานทันตกรรมมีจำนวนไม่เพียงพอ และให้ข้อเสนอแนะ ว่าควรมีโปรแกรมในการเก็บข้อมูลงานที่มีมาตรฐาน และจัดสรรงบประมาณในการทำเรื่องจ้างผู้ช่วยงานทันตกรรม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ทันตกรรมเด็ก | th_TH |
dc.subject | การดูแลทันตสุขภาพ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กนักเรียนประถมศึกษาของเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 | th_TH |
dc.title.alternative | Factors related to the implementation of dental health promotion in primary schools students of dental assistants in Health Region 6 | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this survey research was: (1) to study dental health promotion implementation in primary schools students; to identify personal characteristics, work empowerment, and support from hospital network; (3) to study relationship between personal characteristics, work empowerment; support from hospital network, and dental health promotion implementation in primary schools students of dental assistants; and (4) to find out problems, obstacles and suggestions regarding on dental health promotion implementation in primary schools students in health region 6. The study population were 334 dental assistants who working in health region 6, 200 sample were stratified random sampling by proportion of dental assistants in each provinces. The structured questionnaire was used for data collection with reliability of 0.97. Statistic used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, chi-square test. The resulted revealed that: (1) the dental health promotion implementation in primary schools students was at a high level, (2) personal characteristics of dental assistants were mostly female with average age 30.97 years, finished a bachelor’s degree level , most of position were civil servants, 40.0% of them were trained in 1 year, received work empowerment and support from hospital network at the moderate levels, (3) factors related to the dental health promotion implementation in primary schools of dental assistants with statistic significant at 0.05 were work empowerment and support from hospital network; and (4) problems and obstacles of dental health promotion implementation in primary schools in health region 6 was repeated data collection, no standard of data collecting system, and not enough dental assistants, their suggestions were supporting standard program for data collection and plan budget allocation of dental assistants | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | พรทิพย์ กีระพงษ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
163630.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License