Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2024
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรทิพย์ กีระพงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพาณี สีตกะลิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเอกลักษณ์ เอี่ยมประดิษฐ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-04T03:15:02Z-
dc.date.available2022-11-04T03:15:02Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2024-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (บริหารโรงพยาลบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการศึกษาแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยคุณลักษณะของผู้บริหารที่ส่งเสริมการจัดการความรู้ และปัจจัยองค์กรของโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดนครปฐม (2) กระบวนการจัดการความรู้ของโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดนครปฐม (3) อิทธิพลของปัจจัยคุณลักษณะของผู้บริหารที่ส่งเสริมการจัดการความรู้ และปัจจัยองค์กรต่อกระบวนการจัดการความรู้ของโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดนครปฐม และ (4) ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการความรู้ของโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดนครปฐม ประชากรที่ศึกษา คือ ผู้บริหารระดับกลางและผู้บริหารระดับต้นของโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดนครปฐม จำนวน 8 แห่ง เก็บข้อมูลระหว่างเดือนมิถุนายน ถึง กรกฎาคม 2562 ประชากรทั้งหมดรวม 136 คน เครื่องมือ คือ แบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยงในหมวดคุณลักษณะของผู้บริหารที่ส่งเสริมการจัดการความรู้ องค์กร และกระบวนการจัดการความรู้ของผู้บริหารโรงพยาบาลชุมชน เท่ากับ 0.927, 0.957 และ 0.956 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบ (1) คุณลักษณะของผู้บริหารที่ส่งเสริมการจัดการความรู้ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้น ด้านการประสานงานและการทำงานเป็นทีม และด้านการนำองค์กร ที่อยู่ในระดับมาก สำหรับปัจจัยองค์กรของโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดนครปฐมในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้นด้านวัฒนธรรมองค์กรและด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่อยู่ในระดับมาก (2) กระบวนการจัดการความรู้ในหน่วยงานในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้นด้านการบ่งชี้ความรู้ และด้านการสร้างและแสวงหาความรู้ อยู่ในระดับมาก (3) ตัวแปรพยากรณ์กระบวนการจัดการความรู้ของโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดนครปฐมได้แก่ คุณลักษณะที่ส่งเสริมการจัดการความรู้ การสนับสนุนจากผู้บริหาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวแปรทั้ง 3 สามารถทำนายกระบวนการจัดการความรู้ของโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดนครปฐมได้ร้อยละ 62.3 (R2 = 0.623) โดยตัวแปรที่มีอิทธิพลสูงสุด ได้แก่ การสนับสนุนจากผู้บริหาร รองลงมา คือ คุณลักษณะที่ส่งเสริมการจัดการความรู้ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามลำดับ และ (4) ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการความรู้ของโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดนครปฐมที่สำคัญคือ ปัญหาด้านโครงสร้างองค์กรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการจัดการความรู้ของผู้บริหารโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดนครปฐมth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing knowledge management process among community hospital leaders at Nakhon Pathom Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis cross-sectional research aimed to study (1) leaders’ characteristics and hospitals’ organizational factors in promoting knowledge management, or KM, (2) knowledge management process, (3) influence of leaders’ characteristics and organizational factors on the promotion of knowledge management process, and (4) problems and obstacles to knowledge management, all at community hospitals in Nakhon Pathom province. The study was conducted in all 136 first- and middle-level leaders at eight community hospitals in the province. Data collection was conducted in June and July 2019, using a questionnaire on leaders’ KM-promoting characteristics, organizational factors, and knowledge management process with the reliability values of 0.927, 0.957, and 0.956, respectively. Statistics used were percentage, mean, standard deviation, Pearson correlation coefficient, and multiple regression analysis. The results showed that, for community hospitals in Nakhon Pathom: (1) leaders’ KM-promoting characteristics, overall and aspect-specific, were at a moderate level, except that coordination, teamwork and organizational leadership were at a high level; organizational factors, overall and aspect-specific, were at a moderate level, except that organizational culture and information technology were at a high level; (2) the knowledge management processes, overall and aspect specific, were at a moderate level, except that knowledge identification, creation and acquisition were at a high level; (3) the factors that influenced community hospitals’ knowledge management process were leader’s KM-promoting characteristics, leaders’ support and information technology, all being able to predict 62.3% of the knowledge management process (R2 = 0.623) – the top influencing factor being leaders’ support, followed by KM-promoting characteristics and information technology; and (4) the major problems/obstacles to knowledge management at the hospitals were those related to organizational structureen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
163624.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons