Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2028
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลชัย รัตนสกาววงศ์th_TH
dc.contributor.authorสมคิด สวาสุth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-04T03:35:10Z-
dc.date.available2022-11-04T03:35:10Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2028en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความรับผิดทางวินัย และ ความรับผิดทางละเมิดของข้าราชการ (2) ศึกษาถึงความรับผิดของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในการปฏิบัติหน้าที่โดยประมาทโดยศึกษาเปรียบเทียบความรับผิดทางวินัยกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ (3) ศึกษากฎหมายประเทศอังกฤษ เยอรมัน และฝรั่งเศสที่เกี่ยวข้องเปรียบเทียบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 กับ พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 (4) วิเคราะห์ปัญหาความรับผิดของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (5) เสนอแนวทางปรับปรุง ข้อกฎหมายเกี่ยวกับหลักความรับผิดทางวินัยของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างเหมาะสมและเป็นธรรม งานวิจัยฉบับนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการวิจัยเอกสาร จากการศึกษาค้นคว้าตัวบทกฎหมายจากกฎหมายวินัยข้าราชการ กฎหมายระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา กฎหมายความรับผิด ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ตำรา หนังสือ บทความ วิทยานิพนธ์ คำพิพากษาศาลฎีกาและศาลปกครองไทย และ เอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า (1) ความรับผิดทางวินัยและละเมิดของเจ้าหน้าที่มีเจตนารมณ์แตกต่างกัน (2) ความรับผิดทางวินัยของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของไทยใช้หลักการเดียวกันกับวินัยข้าราชการและกฎหมายความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ (3) เมื่อศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายต่างประเทศพบว่า หลักความรับผิดทางวินัยและทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ยังมีความแตกต่างบางประการ (4) ความรับผิด ทางวินัยของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา กรณีกระทำโดยประมาทในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ เมื่อพิจารณาถึงลักษณะของความประมาทเลินเล่อและผลของการกระทำบางกรณีกลับมีบทลงโทษที่รุนแรงมาก ไม่เป็นธรรมต่อเจ้าหน้าที่ และ (5) ควรวางหลักการลงโทษทางวินัยให้เหมาะสมกับลักษณะของการกระทำ จึงจะเกิดความเป็นธรรมต่อข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ทำนองเดียวกับหลักความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.27en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectครู--การปฏิบัติโดยมิชอบ--ไทยth_TH
dc.subjectบุคลากรทางการศึกษา--การปฏิบัติโดยมิชอบth_TH
dc.subjectความรับผิดของราชการ--ไทยth_TH
dc.titleความรับผิดของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในการปฏิบัติหน้าที่โดยประมาท : ศึกษาเปรียบเทียบความรับผิดทางวินัยกับความรับผิดทางละเมิดth_TH
dc.title.alternativeLiability of teachers and education personnel for negligence in performing duties : a comparative study of disciplinary liability and tort liabilityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2018.27-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.27en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to (1) study concepts and theories about the disciplinary liability and tort liability of officials (2) study liability of teachers and education personnel on duty in negligence by comparing disciplinary liability and tort liability of officials (3) study law in England, Germany and France comparing to the Teachers and Education Personnel Act, B.E. 2547 and Tort Liability of Officials Act, B.E. 2539 (4) analysis disciplinary liability of the teachers and education personnel comparing to tort liability of officials, and (5) propose legal guidelines regarding the disciplinary liability of teachers and education personnel appropriately and fairly. This research is qualitative research by study provisions of the law on disciplinary of officials, law on teachers and education personnel, law on tort liability of officials, textbooks, articles, theses, judgments of the Supreme Court and Supreme Administrative Court of Thailand and other related documents. The results showed that : (1) objectives of disciplinary liability and tort liability of officials are different; (2) principle on liability of teachers and education personnel is the same as those of disciplinary liability and tort liability of officials; (3) when comparing to those foreign laws, it is found that certain principles on liability are also have some differences; (4) disciplinary liability of teachers and education personnel for negligence in performance of official duties if considering the nature of negligence and the consequences of certain actions to the penalties are more severe so that it is not fair to the wrongdoings; and (5) disciplinary liability of teachers and education personnel for negligence in performance of official duties should be subject to the nature of action similar to those of tort liability of officials so as to be fair to teachers and education personnel.en_US
dc.contributor.coadvisorสิริพันธ์ พลรบth_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
163619.pdfเอกสารฉบับเต็ม23.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons