Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2043
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเบญจฆาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorภรณี ต่างวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorโสภณ ทองสถิตย์, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-07T02:37:47Z-
dc.date.available2022-11-07T02:37:47Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2043-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2)ความรู้ความเข้าใจเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง 3) สภาพการใช้เทคโนโลยีของเกษตรกร 4)ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยี 5) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการใช้เทคโนโลยีของเกษตรกร ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรอายุเฉลี่ย 47.04 ปี กว่าครึ่งจบประถมศึกษาเกือบทั้งหมดเป็นสมาชิก สถาบันเกษตรกร มีประสบการณ์ 14.98 ปี เกือบทั้งหมดได้รับการถ่ายทอดความรู้ด้านการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง มีสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.32 คน แรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.60 คน นอกจากประกอบการเกษตรแล้วเกษตรกรสองในสามประกอบอาชีพรับจ้าง มีพื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 49.85 ไร่ มีพื้นที่ปลูกมัน สำปะหลังเฉลี่ย 20.51 ไร่ เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้พื้นที่ของครัวเรือน หนึ่งในสามเช่าพื้นที่เพื่อปลูกมันสำปะหลัง เกษตรกรสองในสามปลูกมันสำปะหลังพันธุ์แขกดำ มีผลผลิตเฉลี่ย 4,226.75 กิโลกรัมต่อไร่ มีค่าใช้จ่ายในการผลิตมันสำปะหลังเฉลี่ย 4,722.33 บาทต่อไร่ มีรายได้จากการผลิตมันสำปะหลังเฉลี่ย 5,744.00 บาทต่อไร่เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้ทุนตนเอง และสองในสามใช้ทุนจากการกู้ยืม 2) เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังในระดับสูง 3) เกษตรกรมีการใช้เทคโนโลยีในระดับมาก โดยเกษตรกรทั้งหมดเก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 8-12 เดือน รองลงมาเกือบทั้งหมดรีบนำผลผลิตส่งขายโดยเร็วและมีเกษตรกรเพียงเล็กน้อยใช้เทคโนโลยีไถระเบิดดินดานทุก 2-3 ปี 4) เกษตรกรเกือบทั้งหมดมีปัญหาขาดแคลนเมล็ดพันธุป็ยพืชสด ขาดแคลนแมลงศัตรูธรรมชาติ ขาดแคลนสารชีวภัณฑ์และบัญหาค่าใช้จ่ายในการเตรียมพันธุ์ ป้องกันกำจัดโรคแมลงในระดับมาก 5) การได้รับการถ่ายทอดความรู้มากมีผลให้การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังมากและพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังมากส่งผลให้การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังน้อยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมันสำปะหลัง--การผลิต--เทคโนโลยีที่เหมาะสมth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--นครราชสีมาth_TH
dc.titleการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกรอำเภอเทพารักษ์ จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeTechnology utilization for increasing cassava production by farmers in Thepharak District of Nakhon Ratchasima Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัญฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146117.pdfเอกสาณฉบับเต็ม29.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons