Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2050
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดุสิต เวชกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศุทรา สุนันทกรญ์, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-07T04:10:23Z-
dc.date.available2022-11-07T04:10:23Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2050-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของผู้มาเยือน (2) ประเมินความตระหนักต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรนันทนาการฐานป่ าไม้ของผู้มาเยือน (3) เปรียบเทียบความตระหนักต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรนันทนาการฐานป่ าไม้ของผู้มาเยือน (4) ศึกษาความคิดเห็นของผู้มาเยือนเกี่ยวกับปัญหาและข้อเสนอแนะ และ (5) กาหนดแนวทางและกิจกรรมในการอนุรักษ์ทรัพยากรนันทนาการฐานป่าไม้ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าโตนงาช้างในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการผู้มาเยือน ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้มาเยือนส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 20-29 ปี มีการศึกษาในระดับปริญญาตรีและยังกำลังศึกษาอยู่ ภูมิลา เนาอยู่ในจังหวัดสงขลา มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อมาเล่นน้ำตกและเดินทางมากับกลุ่มเพื่อน โดยได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารหรือการแนะนา ให้มาน้า ตกโตนงาช้างจากเพื่อน สมาชิกครอบครัว หรือคนรู้จัก (2) ความรู้ เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรนันทนาการฐานป่าไม้อยู่ในระดับปานกลาง และมีความตระหนักต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรนันทนาการฐานป่าไม้อยู่ในระดับสูง (3) จากการเปรียบเทียบความตระหนักต่อการอนุรักษ์ทรัพยากร นันทนาการฐานป่าไม้ของผู้มาเยือน ปัจจัยที่ส่งผลให้ความตระหนักของผู้มาเยือนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ อายุ อาชีพ ภูมิลำเนา รายได้ วัตถุประสงค์ของการมาเยือน จำนวนครั้งที่เคยมาเยือน ความถี่ในการ ท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ และความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรนันทนาการฐานป่าไม้ แต่ระดับการศึกษา กลุ่มการเดินทาง และความถี่ในการเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้ ไม่มีผลต่อความตระหนักต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรนันทนาการฐานป่าไม้ของผู้มาเยือน (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะที่สำคัญคือ การจัดการขยะที่เหมาะสม การปรับปรุงอาคารสถานที่ และการเพิ่มแสงสว่างบริเวณทางเดินในเวลากลางคืน (5) แนวทางและกิจกรรมในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการผู้มาเยือน 4 ประเด็น ได้แก่ การวางแผนจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากร การพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวก การจัดการผู้มาเยือน และการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับชุมชนท้องถิ่นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.329-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์--ไทย--สงขลาth_TH
dc.subjectการอนุรักษ์ป่าไม้th_TH
dc.titleความตระหนักต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรนันทนาการฐานป่าไม้ของผู้มาเยือนน้ำตกโตนงาช้าง จังหวัดสงขลาth_TH
dc.title.alternativeAwareness of conservation of forest-based recreation resources among visitors to Ton Nga Chang waterfall, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.329-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) study the visitors’ demographic data, (2) assess their awareness of forest-based recreation resource conservation, (3) compare the level of awareness among visitors with different demographic factors, (4) study the visitors’ opinions about problems and suggestions, and (5) recommend guidelines and activities related to visitor management for the conservation of forestbased recreation resources in Ton Nga Chang Waterfall. The population of this study was the visitor of Ton Nga Chang Waterfall. Accidental sampling was employed to select the sample accounting for 389 visitors. A questionnaire was used to collect data. Statistics methods for data analysis were percentage, mean, standard deviation and one-way analysis of variance using statistical significance level at 0,05. The findings showed that (1) the majority of visitors were aged of 20-29, had graduated with a bachelor’s degree, or were students, and were from Songkhla Province. They came to the waterfall with friends and the main objective was to swim in the waterfall. Furthermore, they had heard about Ton Nga Chang Waterfall from friends, family or acquaintances. (2) The majority of visitors had a moderate level of knowledge about forest-based recreation resource conservation and had a high level of awareness about forest-based recreation resource conservation. (3) As for comparison of the level of awareness among visitors, the results showed that variables that contributed to differences in visitors’ awareness including age, career, demographic area, income, purpose of visit, number of previous visits to Ton Nga Chang Waterfall, frequency of visiting natural sites and knowledge of forest-based recreation resource conservation. The factors of education level, visiting group, and frequency of participating in forest conservation activities did not make a difference in their awareness. (4) The main problems and suggestion were appropriate garbage management, building renovation and increasing light for the walk ways during night time. (5) Guidelines and activities related to visitor management were: natural resources management planning, facility development, visitor management, and coordination with related organizations in the local area.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130822.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons