Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2054
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเรณุการ์ ทองคำรอด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุดฤทัย พสกภักดี, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-07T06:37:48Z-
dc.date.available2022-11-07T06:37:48Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2054-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการพัฒนาตนเองของพยาบาล วิชาชีพ (2) ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย (3) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการพัฒนาตนเองของ พยาบาลวิชาชีพกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 17 ประชากรที่ศึกษาคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาล ทั่วไป เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 17 จำนวน ทั้งสิ้น 1,239 คน กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 297 คน ได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามพฤติกรรมการพัฒนา ตนเองของพยาบาลวิชาชีพ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย เครื่องมือทั้งสองส่วนมีค่า ความเที่ยงเท่ากัน คือเท่ากับ 0.92 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) พฤติกรรมการพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาล ทั่วไป เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 17 มีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน (2) ประสิทธิผลของหอผู้ป่วยมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูงทุกด้าน (3) พฤติกรรมการพัฒนา ตนเองของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 17 ในระดับปานกลาง (r = .57) อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 ข้อเสนอแนะควรมีการทำวิจัยเพื่อสำรวจปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ในการพัฒนาตนเอง ของบุคลากรทางการพยาบาล รวมถึงความต้องการในการพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ เพื่อผู้บริหาร การพยาบาลจะได้นำผลไปใช้ในการวางแผนพัฒนาบุคลากรได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.239en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาล -- การพัฒนาตนเองth_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยโรงพยาบาลทั่วไป เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 17th_TH
dc.title.alternativeThe relationship between the selfdevelopment behaviors of professional nurses and the effectiveness of ward at general hospitals, the inspection of Public Health Region 17th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.239en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were ะ (1) to study the selfdevelopment behaviors of professional nurses, (2) to investigate the effectiveness of ward at general hospital, the Inspection of Public Health Region 17, and (3) to explore the relationship between the selfdevelopment behavior of professional nurses and the effectiveness of ward. The population of this study consisted of 1,239 professional nurses who worked at general hospitals, the Inspection of Public Health Region 17, The sample included 297 professional nurses, and was selected by the stratified random sampling technique. Questionnaires were used as research tools and consisted of three parts: (1) demographic data, (2) selfdevelopment behaviors of professional nurses, and (3) effectiveness of ward. The validity of the tools was verified by three experts, and the content validity indexes were 0.88.The Cronbach’s alpha reliability coefficients of the second and the third parts were both 0.92. Research data were analyzed by both descriptive statistics (percentage, mean, and standard deviation) and Pearson’s product moment correlation coefficient. The research finding were as follows. (1) Professional nurses rated their selfdevelopment behaviors at the high level. (2) They also rated the effectiveness of ward at the high level. (3) There was significantly moderately positive correlation between the selfdevelopment behaviors and the effectiveness of ward (r = .57,p<.01)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib130691.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons