Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/205
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงเดือน สุวรรณจินดาth_TH
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์th_TH
dc.contributor.authorกาติณี กลีเมาะ, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-07-29T10:26:24Z-
dc.date.available2022-07-29T10:26:24Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/205-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติ และการประมงชายฝั่ง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มรัตนรังสรรค์ จังหวัดระนอง (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม เรื่องทรัพยากรรมชาติ และการประมงชายฝั่งของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มรัตนรังสรรค์ จังหวัดระนอง กับเกณฑ์ร้อยละ 75 และ (3) ศึกษาเจตคติของนักเรียนต่อหลักสูตรท้องถิ่น สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม เรื่อง ทรัพยกรธรรมชาติ และการประมงชายฝั่ง ผลการวิจัยปรากฎว่า (1) หลักสูตรท้องถิ่ง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม เรื่องทรัพยากรธรรมชาติ และการประมงชายฝั่ง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มรัตนรังสรรค์ จังหวัดระนอง ประกอบด้วยองค์ประกอบของหลักสูตร คือ ความเป็นมา หลักการ วิสัยทัศน์ จุดมุ่งหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โครงสร้างหลักสูตร แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คำอธิบาย รายวิชา ผลการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) เจตคติของนักเรียนที่มีต่อความเหมาะสมของหลักสูตรท้องถิ่นในด้านความรู้ ความรู้สึก และพฤติกรรมอยู่ในระดับเหมาะสมอย่างยิ่งth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.th_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- ไทย -- ระนองth_TH
dc.subjectการวางแผนหลักสูตร -- ไทยth_TH
dc.titleการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติ และการประมงชายฝั่งสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มรัตนรังสรรค์ จังหวัดระนองth_TH
dc.title.alternativeThe development of local curriculum in the supplementary science learning area on the topic of natural resources and coastal fisheries for Mathayom Suksa V students in Rattana Rangsan school cluster, Ranong Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to develop a local curriculum in the Supplementary Science Learning Area on the topic of Natural Resources and Coastal Fisheries for Mathayom Suksa V Students in Rattana Rangsan School Cluster, Ranong province; (2) to compare the students’ learning achievement in the Supplementary Science Learning Area on the topic of Natural Resources and Coastal Fisheries with the criterion of 75 per cent; and (3) to study attitudes of the students toward the local curriculum in the Supplementary Science Learning Area on the topic of Natural Resources and Coastal Fisheries. The research sample consisted of 11 Mathayom Suksa V students studying during the second semester of academic year 2018 at Suksamran Ratrangsan School in Rattana Rangsan School Cluster, Ranong province, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments were the developed local curriculum in the Supplementary Science Learning Area on the topic of Natural Resources and Coastal Fisheries, a learning achievement test, and a scale to assess the student’s attitudes toward the local curriculum in the Supplementary Science Learning Area on the topic of Natural Resources and Coastal Fisheries. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and sign test. The research findings were as follows: (1) the developed local curriculum in the Supplementary Science Learning Area on the topic of Natural Resources and Coastal Fisheries for Mathayom Suksa V Students in Rattana Rangsan School Cluster, Ranong province was composed of the following components: historical background, principles, vision, objectives, learner’s main competencies, desirable characteristics of learners, curriculum structure, guidelines for organizing learning activities, course descriptions, learning outcomes, media and learning resources, and measurement and evaluation; (2) the students' learning achievement was higher than the criterion of 75 percent with statistical significance at the .05 level; and (3) the students’ attitudes towards appropriateness of the local curriculum in terms of knowledge, feeling and behavior were at the very appropriate level.en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_161959.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons