Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2061
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลดาวัลย์ รวมเมฆ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภัทรา ภักดีศรี, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-07T07:58:21Z-
dc.date.available2022-11-07T07:58:21Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2061-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยและการพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานด้วยสุนทรียสนทนา สำหรับพยาบาลวิชาชีพในแผนกผู้ป่วยในพิเศษโรงพยาบาลชนแดน จังหวัด เพชรบูรณ์ กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยประกอบด้วยพยาบาลวิชาชีพ ที่ปฏิบัติงานในแผนกผู้ป่วยในพิเศษตั้งแต่ 1 ปี ขึ้นไปจำนวน 8 คน การวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่ระยะที่ 1 ศึกษาสถานการณ์การปฏิบัติงานของพยาบาล วิชาชีพ โดยทบทวนวรรณกรรม การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม แบบสอบถามแรงจูงใจและแบบสอบถาม สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาม ระยะที่ 2 พัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานด้วยสุนทรียสนทนา โดยจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องสุนทรียสนทนาแก่พยาบาลวิชาชีพ และนำไปใช้ในแผนกผู้ป่วยในพิเศษ โดยแบ่งกลุ่มสนทนาตามประเด็นปัญหาตามความสมัครใจใน 4 ประเด็นคือ 1) อัตรากำลังและตารางการ ปฏิบัติงาน 2) สวัสดิการและวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน 3) การสื่อสารในการปฏิบัติงาน 4) การใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ร่วมกับงานประจำ โดยแต่ละกลุ่มรับผิดชอบกำหนดตารางเวลาในการทำสุนทรียสนทนา จนได้ ข้อตกลงร่วมกัน ระยะที่ 3 เปรียบเทียบแรงจูงใจและสิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงามก่อนเริ่มการวิจัยและหลังจาก ทุกกลุ่มได้รับข้อสรุปร่วมกันซึ่งใช้เวลา 11 เดีอน ร่วมกับการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่มพยาบาล วิชาชีพในแผนกผู้ป่วยในพิเศษ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แนวทางสัมภาษณ์เซิงลึก แบบสอบถามแรงจูงใจ และแบบสอบถามการประเมินสิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงานที่พัฒนาโดย สมจิตร พูลเพ็ง (2550) ตรวจสอบความ ตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน และทดสอบความเที่ยงกับพยาบาลวิชาชีพของโรงพยาบาลชน แดน 20 คน ได้ค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.86 และ 0.76 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติทีแบบไม่อิสระ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่าหลังการใชัสุนทรียสนทนาพยาบาลวิชาชีพ ในแผนกผู้ป่วยในพิเศษ มีแรงจูงใจใน การปฏิบัติงาน และการประเมินสิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงาน สูงขื้นกว่าก่อนเข้าโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ. 05 นอกจากนี้ยังพบการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในด้านสัมพันธภาพระหว่างผู้ร่วมงาน การทำงาน ร่วมกันเป็นทีมและพยาบาลวิชาชีพ มีความพึงพอใจในงานสูงขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.266en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.subjectพยาบาล -- ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานด้วยสุนทรียสนทนาสำหรับพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์th_TH
dc.title.alternativeThe development of the work motivation enhancement program by dialogue for professional nurses at Chon Daen Hospital, Phetchabun Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.266en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research and development was to develop the motivation enchantment to work program using dialogue technique for professional nurses at special in-patient care unit of Chon Daen Hospital, Phetchabun Province The target population was eight professional nurses who had work experience at least one year in special in-patient unit. The research was consisted of three phases; First, Studying the work situations of professional nurses by literature review, non-participant observation and evaluated work-related motivation and workplace environment of professional nurses using the questionnaires Second, developing program by dialogue training workshop for professional nurses and implementing the program at the special in-patient unit. The dialogue was done in four issues: (1) nurse staffing and work schedules (2) welfare and equipment and supplies for work (3) communication in the workplace and (4) using a computer program in routine work. The dialogue schedule was set by the member of each group. Third, evaluation the program, the work’s motivation and work environment of professional nurses were compared between before and after 11 -month program implementation. In-depth interview and focus group discussion the professional nurses in special in-patient care unit were done. The instruments consisted of in- depth interview guideline, work-related motivation questionnaire and workplace environment questionnaire which were developed by Somjit poolpeng (2550). Content validity of the instruments were examined by five experts -The Cranbach’s alpha coefficients of the questionnaires were .86 and.76, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, paired t test and content analysis. The findings showed that after program implementation, professional nurses rated significantly higher scores of work-related motivation and workplace environment than prior the program implementation at .05 levels. Moreover, the positive improvements were found in the relationship, team working, communication and job satisfaction of professional nursesth_TH
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib130705.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons