Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2064
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสราญรัตน์ ไพทักษ์ศรี, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-08T02:26:41Z-
dc.date.available2022-11-08T02:26:41Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2064-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (2) พฤติกรรมการบริโภคนมควายพันธุ์มูร่าห์ของผู้บริโภค (3) ความรู้และทัศนคติการบริโภคน้ำนมควายพันธุ์มูร่าห์ของผู้บริโภค (4) ความคิดเห็นการบริโภคน้ำนมควายพันธุ์มูร่าห์ ของผู้บริโภค และ (5) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการบริโภคน้ำนมควายพันธุ์มูร่าห์ ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 60.7 เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 31.61 ปี ร้อยละ 29.0 เป็นนักศึกษา ร้อยละ 73.9 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี รายได้ต่อเดือนเฉลี่ย 34,928.71 บาท มีผู้บริโภคนมควายในครอบครัวเฉลี่ย 1.70 คน อายุผู้บริโภคในครัวเรือนเฉลี่ย 30.22 ปี (2) พฤติกรรมการบริโภคน้ำนมควายพบว่า กลุ่ม ตัวอย่างมีความถี่ในการบริโภคสูงสุด เฉลี่ย 5.18 วันต่อสัปดาห์ จำนวนครั้งที่บริโภคเฉลี่ย 1.11 ครั้ง/วัน ร้อยละ 56.8ดื่มช่วงเช้า ร้อยละ 66.3 มีการบริโภคน้ำนมควายสม่ำเสมอเท่ากันทุกวัน ร้อยละ 72.9 ได้แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับนมควาย พันธุ์มูร่าห์จากเพื่อน ส่วนใหญ่ร้อยละ 80.9 สาเหตุในการเลือกบริโภคนมควายพันธุ์มูร่าห์คือ เพื่อสุขภาพ ร้อยละ60.4 บุคคล หรือแหล่งที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อนมควายพันธุ์มูร่าห์ คือ ตัวเอง ค่าใช้จ่ายในการบริโภคเฉลี่ยต่อคน 277.26 บาทต่อคนต่อสัปดาห์ ค่าใช้จ่ายในครอบครัวเฉลี่ย 1,503.10 บาทต่อเดือน โดยส่วนใหญ่บริโภคนมสด ร้อย ละ 42.9 ความรู้สึกหลังจากที่ได้ดื่มนมควายพันธุ์มูร่าห์ คือ ดื่มแล้วสุขภาพดีขึ้น ส่วนใหญ่ร้อยละ 89.2 ซื้อผลิตภัณฑ์ นมควายจากร้านมูร่าห์เฮ้าส์ ร้อยละ 55.4 เห็นว่าความสะดวกในการเดินทางมาซื้ออยู่ในระดับปานกลาง (3) กลุ่ม ตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 57.1 มีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคนมสดประเภทต่าง ๆ อยู่ในระดับมากที่สุด มีทัศนคติต่อ การบริโภคนมควายอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.46 (4) สำหรับความคิดเห็นต่อการบริโภคนมควายพันธุ์มูร่าห์ที่ เป็ นอยู่ในปัจจุบันพบว่า มีความคิดเห็นมากที่สุดในด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการขาย และด้าน ช่องทางการจัดจำหน่าย (5) ส่วนปัญหาในการบริโภคน้ำนมควายพันธุ์มูร่าห์ พบว่า ด้านน้ำนม กลุ่มตัวอย่างส่วน ใหญ่ร้อยละ 88.5 ประสบปัญหาในเรื่อง มีอายุในการเก็บไว้ได้ไม่นาน ด้านราคา มีปัญหาจากราคาค่อนข้างสูงกว่านม ชนิดอื่น ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ประสบปัญหาร้านค้าจำหน่ายมีน้อย ไม่มีการขายในซุปเปอร์มาเก็ต ด้านการส่งเสริมการขาย ประสบปัญหา ไม่มีการกระจายสินค้า ช่องทางการขายตามห้างร้านมินิมาร์ททั่วๆไป กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ร้อยละ 89.2 เสนอว่า ควรประชาสัมพันธ์ ในเรื่องของคุณประโยชน์ของน้ำนมควายที่มีผลต่อสุขภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.228-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectน้ำนม--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.titleการบริโภคน้ำนมควายพันธุ์มูร่าห์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeConsumers' opinions toward Murrah buffalo milk consumption in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.228-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study (1) individual factors of Murrah milk consumers, (2) behavior of Murrah milk consumers, (3) knowledge and attitudes toward Murrah milk consuming of Murrah milk consumers, (4) opinions toward Murrah milk consuming of Murrah milk consumers, and (5) problems and suggestions for Murrah milk consuming. The population in this study was a number of 1,250 Murrah milk consumers. Sample size was determined by Taro Yamane formula and by accidental sampling, 303 Murrah milk consumers were selected as samples. Questionnaire was the research instrument. Statistics used included frequency, percentage and standard deviation. From the study, it was found (1) most of the samples, 60.7% were male with the average age at 31.61 years. 73.9 of them were students who graduated bachelor degree level. Their average income was 34,928.71 baht/month. (2) The average Murrah milk consumer in their household was 1.70 persons. The average age of household consumer was 30.22 years. From behavior of Murrah milk consuming, it was discovered the highest average frequency of Murrah milk consuming was 5.18 days. The average frequency of consuming was 1.11 time/day. 56.8% of them drank in the morning. 66.3% of them usually consumed the same quantity of Murrah milk everyday . 72.9% of them obtained source of Murrah milk information from friends. The main reason for Murrah milk consuming of the majority 80.9% was for good health. Individual or influencing source over decision to buy Murrah milk, 60.4% of them said it was they themselves. The average expense was 277.26 baht/person. The average expense of average family was 1,503.10 baht/month. Most of them consumed fresh milk. 42.9% of them found themselves healthier after they consumed Murrah milk. Most of them, 89.2% bought Murrah milk from Murrah House Shop. 55.4% of them rated access convenience to buy Murrah milk at medium level. (3) Knowledge in all kinds of fresh milk consuming by 57.1% of most of the sample group was at the highest level. (4) Attitude towards Murrah milk consuming was at the highest level with the average value 4.46. Viewpoint over Murrah milk consuming under current circumstance was found at the highest level; products aspect, price aspect, sale promotion aspect, and sale distribution aspect. (5) Problems on Murrah milk consuming; in terms of milk, most of the sample group 88.5% encountered short expiry date. They could not keep the milk in longer period. In terms of price, Murrah milk price was higher than other kinds of milk. In terms of sale distribution, Murrah milk was available only in a few commercial shops, but unavailable in general supermarkets. In terms of sale promotion, they encountered problems on none of products distribution, or in minimarts. Most of the samples, 89.2% suggested public relations on the benefit of healthy Murrah milk be widely publicized.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
133863.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons