Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2069
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัฐนันท์ วงษ์มามี, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-08T04:34:08Z-
dc.date.available2022-11-08T04:34:08Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2069-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนื้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การบริหารจัดการแบบมุ่งผล สัมฤทธิ์ ของพยาบาลวิชาชีพ ที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาล สังกัดกรมอนามัย (2) ผลลัพธ์ทางการ พยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการแบบมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ของพยาบาลวิชาชีพ กับผลลัพธ์ทางการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือพยาบาลวิชาชีพ ที่ปฎิบัติงานใน โรงพยาบาลสังกัดกรม อนามัย กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 177 คน เครื่องมือที่ใช้ในเป็นแบบสอบถามประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ปัจจัยส่วนบุคคล การบริหารจัดการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ และผลลัพธ์ทางการพยาบาลตาม การรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ ที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลสังกัดกรมอนามัย แบบสอบถามผ่านการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และวิเคราะห์หาความเที่ยง โดยหาค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาคแอลฟา ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 และ ส่วนที่ 3 เท่ากับ .94 และ .96 ตามลำดับ วิเคราะห์ ข้อมูลโดยการหา ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียธ์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) การบริหารจัดการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ของพยาบาลวิชาชีพที่ ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลสังกัดกรมอนามัย อยู่ในระดับสูง (2) ผลลัพธ์ทางการพยาบาลตามการรับรู้ ของพยาบาลวิชาชีพ ที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลสังกัดกรมอนามัย อยู่ในระดับสูง และ (3) การ บริหารจัดการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง (r = .936) กับผลลัพธ์ทางการ พยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.246en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์กับผลลัพธ์ทางการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสังกัดกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขth_TH
dc.title.alternativeThe relationships between result based management and nursing outcomes as perceived by professional nurses of hospitals under Department of Health, the Ministry of Public Healthth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.246en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to examine Result Based Management of professional nurses of hospitals under Department of Health, (2) to explore nursing outcomes as perceived by professional nurses, and (3) to find the relationships between Result Based Management and nursing outcomes The population and sample consisted of 177 professional nurses of hospitals under Department of Health, the Ministry of Public Health. Questionnaires were used as research tools and consisted of three parts: personal data, Result Based Management, and nursing outcomes. These tools were tested for content validity. The Cronbach’s alpha coefficients of the second and the third parts were .96 and .94 respectively. Statistical devices used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s product-moment correlation coefficient. The major findings were as follows. (1) Professional nurses rated their Result Based Management at the high level. (2) They also rated their nursing outcomes at the high level. Finally, (3) there was a statistically significant positive relationship between Result Based Management and nursing outcomes (r = .936, p<.01)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib13380.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons