Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2070
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรัชนี นามจันทรา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวิไล กุศลวิศิษฎ์กุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประภาพร บุญเพิ่ม, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-08T06:27:53Z-
dc.date.available2022-11-08T06:27:53Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2070-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงาน ของพยาบาลวิชาชีพ (2) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลผู้ชำนาญเฉพาะทางการพยาบาล และการผดุงครรภ์ และ (3) ศึกษาเปรียบเทียบระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ และพยาบาลผู้ชำนาญเฉพาะทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นพยาบาลวิชาชีพ ที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 237 คน ได้ทำกการสุ่มตัวอย่างแบบสุ่มเชิงเดียว และประชากรเป็นพยาบาล ผู้ชำนาญเฉพาะทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล ดังกล่าว จำนวน 121 คน เครี่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ข้อมูลส่วนบุคคล และคุณภาพชีวิตการทำงาน แบบสอบถามผ่านการตววจสอบความตรงตามเนี้อหา และวิเคราะห์หาความเที่ยงโดยคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค ได้เท่ากับ 0.94 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าเฉลี่ยสองกลุ่มตัวอย่างที่เป็นอิสระต่อกัน (Independent t-test) ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณทาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X = 3.48 , S = 0.44) (2) คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลผู้ชำนาญเฉพาะทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ โดยรวมอยู่ในระดับสูง (x = 3.57, $= 0.41) (3) พยาบาลผู้ชำนาญเฉพาะทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ มีคุณภาพชีวิตการทำงานโดยรวมสูงกว่าพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อจำแเนกเป็นรายด้านพบว่าคุณภาพชีวิตการทำงานแตกต่างกัน 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านโอกาสในการใช้และพัฒนาความสามารถของบุคคล 2) การบูรณาการทางสังคมในหน่วยงานและ 3) ความรับผิดชอบของชีวิตการงานที่มีต่อสังคมแต่คุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกัน 3 ด้าน และอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ 1) ด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม 2) สภาพการทำงานที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ และ 3) การทำงานกับชีวิตโดยรวมของบุคคลมีข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยครั้งนี้คือ ควรมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ ให้สูงขึ้น และพยาบาลวิชาชีพและพยาบาลผู้ชำนาญเฉพาะทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ควรได้รับการปรับปรุงคุณภาพชีวิตการทำงานทั้ง 3 ด้าน ข้างต้นให้อยู่ในระดับสูงขึ้นกว่าที่เป็นอยู่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.265en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพ -- ภาระงานth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพกับพยาบาลผู้ชำนาญเฉพาะทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุขth_TH
dc.title.alternativeA Comparison of quality of work life between professional nurses and advanced practice nurses at regional hospitals and general hospitals on the Public Health Inspectionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.265en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to study the level of quality of work life of professional nurses at regional hospitals and general hospitals on public health inspection, (2) to investigate the level of quality of work life of advanced practice nurses ,and (3) to compare of quality of work life of professional nurses to advanced practice nurses at regional hospitals and general hospitals on the public health inspection. The sample comprised 237 professional nurses who worked at regional hospitals and general hospitals on the public health inspection and were selected by simple random sampling; and the population consisted of 121 advanced practice nurses from those hospitals. Questionnaires were used as research tools which comprised two sections: demographic data and the quality of work life of nurses. The questionnaires were tested for validity and reliability by Cronbach’s alpha coefficient. The reliability of the second part was 0.94. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and independent t- test. The results of the study were as follows. (1) Professional nurses rated the quality of work life at the moderate level (x = 3.48, S = 0.44). (2) Advanced practice nurses rated their quality of work life at the high level (x = 3.57, S = 0.41). (3) Advanced practice nurses rated their quality of work life higher than professional nurses significantly at the level 0.05. There were three items differences consisting of 1) immediate opportunity to use and develop human capacities, 2) social integration in the work organization, and 3) constitutionalism in the work organization. However, other three items at the moderate level which had no significant differences included 1) adequate and fair compensation, 2) safe and health working condition, and 3) work and the total life space. The results of this study suggest to enhance quality of work life of professional nurses. Moreover, both of them should be improved those three itemized quality of lifeen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib133803.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons