Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2078
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีนวล โอสถเสถียร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorดาราวรรณ รองเมือง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมรกต คงสีปาน, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-09T07:10:41Z-
dc.date.available2022-11-09T07:10:41Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2078-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการใช้หลักฐาน เชิงประจักษ์ในการปฎิบัติการพยาบาลต่อความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาล วิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหออภิบาล ผู้ป่วยหนักโรคหัวใจ โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี จำนวน 18 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาล ซึ่งประกอบด้วย สื่อวีดีทัศน์ให้ ความรู้เรื่องการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาล ฝึกอบรมด้วยการทำกิจกรรมกลุ่ม ร่วมอภิปรายสรุปแนวทางปฏิบัติฝึกปฏิบัติจริงในผู้ป่วยและการประเมินผลการปฏิบัติโดยมีผู้วิจัยใหั คำแนะนำ เครื่องมือที่ใช้ประเมินผลคือ แบบทดสอบความรู้ แบบสอบถามทัศนคติและแบบสอบถาม การปฏิบัติการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฎิบัติการพยาบาล ที่ได้ผ่านการตรวจสอบความตรง ตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่านแบบประเมินผลด้านความรู้ได้ผ่านการหา ค่าความเที่ยงด้วย K.R 20 ได้ค่าความเที่ยง 0.78 สำหรับด้านทัศนคติและการปฏิบัติได้ผ่านการหา ค่าความเที่ยงด้วย Cronbach’s Alpha Coefficient ได้ค่าความเที่ยงที่ 0.90 และ 0.93 ตามลำดับ ข้อมูลการวิจัยได้รับการวิเคราะห์สถิติ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การสถิติทดสอบ Wilcoxon Match Paired Signed-Ranks Test ผลการวิจัยพบว่าคะแนนความรู้ ทัศนคติและการปฎิบัติการพยาบาลหลังใช้โปรแกรม การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฎบัติการพยาบาล มากกว่าก่อนได้รับการโปรแกรมการใช้ หลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฎิบัติการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาลที่สร้างขึ้นสามารถนำได้รับการ พัฒนาการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฎิบัติการพยาบาลในสถานพยาบาลหน่วยอื่น ๆ ต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.396en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาลth_TH
dc.subjectพยาบาลth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleผลของโปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาลต่อความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติของพยาบาลวิชาชีพ : กรณีศึกษาที่หออภิบาลผู้ป่วยหนักโรคหัวใจ โรงพยาบาลสุราษฏร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeEffects of an evidence-based nursing care training program on knowledge, Attitudes, and practices of professional nurses : a case study in the coronary unit at Suratthani hospita lth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.396en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi experimental research was to compare professional nurses’ knowledge, attitudes, and practice before and after using an evidence-based nursing care program in the coronary care unit (CCU) at Suratthani Hospital. The sample of this study included eighteen professional nurses who had worked in the CCU at Suratthani Hospital. Experiment tools included the evidence- based nursing care program which consisted of a training plan and a video of evidence- based nursing practices. The process of training included 1) giving an evidence-based knowledge by video media. 2) training through coaching, discussion in the facilitating learning context. The evaluation tools comprised knowledge test and questionnaires of attitude and practice on the evidence-based nursing practices. The questionnaires were validated by a panel of 5 experts. The Kuder-Richarson (KR-20) for assessing the reliability of knowledge test was 0.78, and the Cronbach’s alpha reliability coefficients of attitudes and practice were 0.90 and 0.93 respectively. Data were analyzed byfrequency, percentage, mean, standard deviation, and Wilcoxon Matched-Paires Signs Ranks Test The major findings showed that the mean scores of knowledge, attitudes, and practices were statistically significantly higher than those before completing the program (p<0.05). The findings of this study suggested that the evidence-based nursing care program enhanced professional nurses’ knowledge, attitudes, and practice, so it should be developed and used for providing nursing care in other nursing institutesen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib134821.pdfเอกสารฉบับเต็ม23.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons