Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2080
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงกมล ปิ่นเฉลียว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเอื้อญาติ ชูชื่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorยูถิกา จิราโรจน์, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-09T08:19:59Z-
dc.date.available2022-11-09T08:19:59Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2080-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยพรรณา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะของพยาบาล จิตเวช โรงพยาบาลแห่งหนี่งในกรุงเทพมหานคร โดยใช้เทคนิคเดลฟาย กลุ่มตัวอย่าง คือ จิตแพทย์และผู้เชี่ยวชาญด้านการพยาบาลจิตเวชศาสตร์ จำนวน 17 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามปลายเปิด และแบบสอบถามชนิดมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณหาค่า มัธยฐาน ฐานนิยม และค่าพิสัย ระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่าสมรรถนะของพยาบาลจิตเวช โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 12 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านการประเมินภาวะสุขภาพ (2) ด้านการเขียน แผนการพยาบาล (3) ด้านการนำแผนการพยาบาลไปใช้ (4) ด้านการปฎิบัติเพื่อการบำบัดทางจิต (5) ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัดทางจิต (6) ด้านการประเมินผลแผนการพยาบาล (7) ด้านการสอนทางสุขภาพ (8) ด้านการรักษาทางกาย (9) ด้านประสานงาน การทำงานร่วมกัน ระหว่างบุคลากรและวิชาชีพอื่นๆ (10 ) ด้านการวิจัยและวิชาการ (11) ด้านจริยธรรม จรรยาบรรณ และกฎหมาย และ (12) ด้านคุณลักษณะเชิงวิชาชีพ สมรรถนะหลัก 12 ด้านประกอบด้วย สมรรถนะย่อย 89 ข้อ เป็นสมรรถนะที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 84 ข้อ และสมรรถนะที่มี ระดับความสำคัญมาก 5 ข้อth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพยาบาลจิตเวชศาสตร์ -- ไทย -- กรุงเทพฯth_TH
dc.titleการศึกษาสมรรถนะของพยาบาลจิตเวชโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeA study of the competency of psychiatric nurses at a hospital in Bangkokth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.247en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this descriptive research was to study competency of psychiatric nurses at a hospital in Bangkok. Delphi technique was used in this study. The sample consisted of 17 psychiatrists and psychiatric nursing experts. The instruments were open ended questionnaire and five point-rating scale questionnaire. The data collection was carried out by using questionnaires. The data gained were statistically analyzed by means of the median, mode, and interquartile range. The results showed that the competency of psychiatric nurses at a hospital in Bangkok included 12 competencies as follows: (1) health assessment, (2) nursing care plan. (3) implementation of nursing care plan, (4) practical psychotherapy, (5) milieu therapy, (6) valuation of nursing care plan, (7) health education, (8) somatic therapy, (9) collaboration kith nursing staff and other health professionals, (10) research and academic, (11) ethics and laws, and (12) professional characteristics. In all the 12 competencies of psychiatric nurses al a hospital in Bangkok covered 89 items. Eighty four items were rated at the highest level of desirable competencies and 5 items were rated at the high levelth_TH
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib135308.pdfเอกสารฉบับเต็ม23.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons