Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2088
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมุกดา หนุ่ยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรรณี ตปนียากร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมศรี จันทร์เทวี, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-10T04:31:26Z-
dc.date.available2022-11-10T04:31:26Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2088-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความยุติธรรมใน องค์การและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดลำปาง (2) ความสัมพันธ์ระหว่างความยุติธรรมในองค์การกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของ องค์การตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดลำปาง และ (3) อิทธิพลของความ ยุติธรรมในองค์การต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดลำปาง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดลำปาง จำนวน 532 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ข้อมูลส่วนบุคคล ความยุติธรรมในองค์การของ พยาบาลวิชาชีพ และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ แบบสอบถามผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และวิเคราะห์หาความเที่ยงได้เท่ากับ 0.95 และ 0.94 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์เพียร์สัน และวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) ความยุติธรรมในองค์การตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ อยู่ใน ระดับปานกลาง และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ อยู่ใน ระดับสูง (2) ความยุติธรรมในองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง กับพฤติกรรมการเป็น สมาชิกที่ดีขององค์การตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.44) และ (3) ความยุติธรรมในองค์การด้านกระบวนการทำนายพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การได้ ร้อยละ 18 (R2=0.180) เมื่อเพิ่มตัวแปรด้านปฎิสัมพันธ์เข้าไปในสมการทำให้การทำนายพฤติกรรมการ เป็นสมาชิกที่ดีขององค์การเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 19.2 (R2=0.192) ความยุติธรรมด้านปฎิสัมพันธ์สามารถ ทำนายพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การได้รัอยละ 1.1 อย่างมีนัยสำกัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.31en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความยุติธรรมth_TH
dc.subjectองค์การth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความยุติธรรมในองค์การกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between organizational justice and organizational citizenship behavior perception of professional nurses at community hospitals, Lampang Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.31en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive study were: (1) to examine perception of organizational justice and organizational citizenship behavior perception of professional nurses at community hospitals, Lampang province, (2) to study the relationships between organizational justice and organizational citizenship behavior of professional nurses, and (3) to identity the influence of organizational justice to the organizational citizenship behavior perception of professional nurses. The sample comprised 532 professional nurses who worked at community hospitals, Lampang province. They were selected by purposive. Questionnaires were used as research tools and comprised three sections: personal information, perception of organizational justice, and organizational citizenship behavior of professional nurses. The questionnaires were tested for validity and reliability. The reliability of the second, and the third sections were 0.95, and 0.94 respectively. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product moment correlation, and simple regression analysis. The major findings were as follows: (1) Professional nurses had their perception organizational justice at the middle level, and their organizational citizenship of professional nurses at the high level. (2) There were significant positive relationships at middle level (r = 0.44) among organizational justice, and organizational citizenship behavior perception of professional nurses (p < 0.01). Finally, (3) the organizational justice of procedural could predict organizational citizenship behavior perception of professional nurses predictors accounted for 18.0 % (R2= 0.180) then include the organizational justice of interactional could predict organizational citizenship behavior perception of professional nurses predictors accounted for 19.2 % (R2= 0.192). The organizational justice of interactional could predict organizational citizenship behavior accounted for 1.1 % (p-value = 0.01)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib137449.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons