Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2089
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชื่นจิตร โพธิศัพท์สุข, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | วงเดือน ปั้นดี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | วิริยา วิรานันท์, 2501- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-10T07:03:14Z | - |
dc.date.available | 2022-11-10T07:03:14Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2089 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงอรรถาธิบาย (Explanatory research) วัตถุประสงค์เพื่อ (1 ) ศึกษาปัจจัย ทางการบริหารการวิจัยและสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการ สาธารณสุขที่ 17 (2) ศึกษาอิทธิพลของปัจจัยที่ร่วมพยากรณ์สมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 17 กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพ ที่ปฏิบัติงานในกลุ่มการพยาบาล มาไม่น้อยกว่า 1 ปี โรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการสาธารณสุข ที่ 17 ซึ่งได้จากลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบ Multi- stage sampling จำนวน 325 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ (1) ข้อมูลส่วนบุคคล (2) สมรรถนะด้านการวิจัย (3) ปัจจัยทางการบริหารการวิจัย ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ได้ค่า CVI-0.94 และ วิเคราะห์ความเที่ยง ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของคอนบราค เท่ากับ 0.94 และ 0.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ แบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysts) ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลวิชาชีพ ในด้านความรู้เกี่ยวกับการวิจัยและ ด้านทักษะเกี่ยวกับการทำวิจัยอยู่ในระดับปานกลาง (X = 18.98, S.D. = 2.00 และ X = 2.90, S.D. = 0.75 ตามลำดับ) ด้านทัศนคติเกี่ยวกับการทำวิจัยอยู่ในระดับดี ( X = 3.84, S.D. = 0.53) (2) ปัจจัยทางการบริหารการวิจัยโดยรวมมี คะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 2.77, S.D. = 0.89) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าทุกด้านมีคะแนนอยู่ในระดับปานกลาง โดยด้านการสนับสนุนจากผู้บริหารด้านวิชาการ มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด ( X = 2.92, S.D. = 0.83) รองลงมาคือ ด้านนโยบายและโครงสร้างเกี่ยวกับการวิจัย (X = 2.78, S.D. = 0.89) ส่วนด้านการสนับสนุนจากผู้บริหารด้านทรัพยากร มีคะแนนเฉลี่ยต่ำสุด (X =2.60, S.D. = 0.94) (3) ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์สมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 17 ได้แก่ ปัจจัยทางการบริหารการวิจัยด้านการสนับสนุนจากผู้บริหารด้านวิชาการ ระดับการศึกษา ความสนใจที่จะทำงานวิจัยทางการพยาบาล ปัจจัยทางการบริหาร การวิจัยด้านโครงสรัางและนโยบายเกี่ยวกับการวิจัยและอายุของพยาบาลวิชาชีพ โดยทั้ง 5 ตัวแปร สามารถพยากรณ์ สมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลวิชาชีพ ได้รัอยละ 31.00 ดังนั้น ผู้บริหารควรสนับสนุนให้พยาบาลวิชาชีพได้เพิ่มพูน สมรรถนะด้านการวิจัยโดยการพัฒนาความรู้และทักษะเกี่ยวกับการวิจัยมีการกำหนดโครงสร้างและนโยบายการวิจัยที่ดี และชัดเจน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.392 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ | th_TH |
dc.subject | วิจัย | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 17 | th_TH |
dc.title.alternative | Factors influencing research competency of professional nurses at community hositals in Public Health Inspection Region 17 | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2012.392 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this explanatory research were:(l) to study research management organization and research competency of professional nurses at Community Hospitals in Public Health Inspection Region 17and (2) to study factors influencing research competency of professional nurses al Community Hospitals in Public Health Inspection Region 17 The sample of included 323 professional nurses who had worked at Community Hospitals in Public Health Inspection Region 17. They were selected by multi-stage random sampling technique. The research instruments were questionnaires and consisted of three sections: (1) personal data (2) research management and (3) research competency of professional nurses. The content validity of the tool was verified by five experts. The Cronbach’s alpha coefficients of the second and third parts were .94 and .95 respectively. Research data were analyzed by descriptive statistics (percentage, mean, and standard deviation) and stepwise multiple regression analysis. The results of this study were as follows (1) Professional nurses rated their research competency at the moderate level. (2) Factors influencing research competency of professional nurses at Community Hospitals in Public Health Inspection Region 17, organizational management of technical matter, education, research attention, organizational management of research structure and research policy and age of professional nurses. These predictors accounted for 31% (R = 0.310) Therefore, administrators should be promote the training of nursing research and to settle organizational management of research structure and research policy certainly | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib137450.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 18.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License