Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2090
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีนวล สถิตวิทยานันท์, 2495- อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุพักตร์ พิบูลย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจันทิพย์ จันทร์พงษ์, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-10T07:38:51Z-
dc.date.available2022-11-10T07:38:51Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2090-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนารูปแบบการนิเทศการพยาบาล (2) ประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบการนิเทศการพยาบาล ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี กลุ่มตัวอย่างคือ (1) กลุ่มผู้นิเทศ ได้แก่หัวหน้าหน่วยงานการพยาบาลและผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยงานการพยาบาล ที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานการพยาบาลศัลยกรรม งานการพยาบาลสูติ-นรีเวชกรรม งานการพยาบาลอายุรกรรม งานการพยาบาลกุมารเวชกรรม จำนวน 13 คน (2) กลุ่มผู้รับการนิเทศ ได้แก่พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานการพยาบาล ที่เลือกและมีอายุงาน 1 ปี ขึ้นไป จำนวน 60 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบสำรวจสภาพการณ์การนิเทศการพยาบาล ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (2) แบบทดสอบความรู้การนิเทศการพยาบาลของผู้นิเทศ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้นิเทศเกี่ยวกับประสิทธิภาพ ของรูปแบบการนิเทศการพยาบาล (4) แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้รับการนิเทศเกี่ยวกับประสิทธิภาพของรูปแบบการนิเทศการพยาบาล เครื่องมือผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน และเครื่องมือชุดที่ 2, 3, และ 4 มีค่าความตรงเท่ากับ 0.96, 0.98, และ 0.96 ตามลำดับและเครื่องมือชุดที่ 3 และ 4 ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ 0.84 และ 0.92 ตามลำดับ วิเคราะห์,ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนี้อหา การแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละค่า ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างด้วยสถิติ Paired t-test และ The Wilcoxon Matched -pans signed-ranks Test ผลการวิจัยพบว่า (1) ได้รูปแบบการนิเทศการพยาบาลที่ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คือ 1) การ เตรียมผู้นิเทศการพยาบาล 2) การกำหนดข้อตกลงการนิเทศร่วมกัน 3) การรับฟังและร่วมกำหนดประเด็นการ นิเทศ (Listen) 4) การสำรวจสถานการณ์และพัฒนาแผนการนิเทศ 5) การปฏิบัติการนิเทศ 6) การทบทวน (2) ความรู้เกี่ยวกับการนิเทศการพยาบาลของผู้นิเทศหลังการเสริมความรู้สูงกว่าก่อนเสริมความรู้อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพของรูปแบบการนิเทศการพยาบาลของผู้นิเทศก่อน และหลังทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพของ รูปแบบการนิเทศการพยาบาลของผู้รับการนิเทศก่อนและหลังทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี -- การบริหารth_TH
dc.subjectการพยาบาล -- ไทย -- นครนายกth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการนิเทศการพยาบาลสำหรับผู้นิเทศในศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดนครนายกth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a nursing supervision model for supervisors at Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn Medical Center in Nakhon Nayok Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research and development were: (1) to develop a nursing supervision model for supervisors and (2) to evaluate the efficiency of the nursing supervision model at Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhom Medical Center. The sample of this study consisted of (1) supervisors : thirteen head nurses and subheads who worked at the In-patient departments of Surgery, Obstetric, Medicine, and Pediatrics and (2) supervisees : sixty nurses who had at least one year experience and worked at the In-patient departments where their supervisors were selected. Research instruments comprised 1) a survey of the nursing supervision situational 2) a test of nursing supervision knowledge for supervisors and 3) questionnaires of the efficiency of the nursing supervision model for supervisors 4) the questionnaires of the efficiency of the nursing supervision model for supervisees. The content validity of these tools was verified by five experts. The content validity of the second, the third, and the fourth were 0.96, 0.98, and 0.96 and the Cronbach’s alpha reliability coefficients of the third, and the fourth questionnaires were 0.84 and 0.92 respectively. Data were analyzed by content analysis. Statistical devices used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, paired t-test, and the Wilcoxon Matched - pairs signed - ranks Test. The research findings were as follows. (1) The nursing supervision model consisted of 6 steps: 1) prepare supervisors, 2) sign contract, 3) listen to and specify topics of supervision, 4) explore the current situation and develop a supervision plan, 5) supervise, and 6) review. (2) Post-test scores of nursing supervision knowledge were higher than pre-test scores (p < .05). (3) Supervisors rated the efficiency of the supervision model after implementation significantly higher than before (p < .05). Finally, (4) Supervisees rated the efficiency of the supervision model after implementation significantly higher than before (p < .05)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib137455.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons