กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2102
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเปรมฤทัย น้อยหมื่นไวยth_TH
dc.contributor.authorฐิตารีย์ ยงค์ประวัติ, 2517-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-11T03:05:50Z-
dc.date.available2022-11-11T03:05:50Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2102en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความสุขในการทำงานและสภาพแวดล้อมที่ดึงดูดใจในการทำงานตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ (2) เปรียบเทียบความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ ระหว่างกลุ่มวัยเจเนอเรชั่น เอ็กซ์ และเจเนอเรชั่น วาย (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มวัย สภาพแวดล้อมที่ดึงดูดใจในการทำงาน กับความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ และ (4) วิเคราะห์อำนาจในการทำนายของกลุ่มวัย และสภาพแวดล้อมที่ดึงดูดใจในการ ทำงานที่มีต่อความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่าง เป็นพยาบาลประจำการกลุ่มวัยเจเนอเรชั่น เอ็กซ์ และเจเนอเรชั่นวาย ที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลกรุงเทพ อย่างน้อย 1 ปี จำนวน 176 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบวัดสภาพแวดล้อมที่ดึงดูดใจในการทำงาน และ แบบวัดความสุขในการทำงาน ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และความเที่ยงได้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของครอนบาค เท่ากับ 0.919 และ 0.917 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมล ได้เแก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที ไคสแควร์ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า (1) ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และสภาพแวดล้อมที่ดึงดูดใจในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับสูง (2) พยาบาลวิชาชีพ ที่อยู่ในกลุ่มเจเนอเรชั่น วาย มีความสุขในการทำงานสูงกว่าพยาบาลวิชาชีพ ที่อยู่ในกลุ่มเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถติที่ระดับ .05 (3) กลุ่มวัยและสภาพแวดล้อมที่ดึงดูดใจในการทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (4) สภาพแวดล้อมที่ดึงดูดใจในการทำงาน สามารถทำนายความสุขในการทำงานของพยาบาล วิชาชีพได้ ร้อยละ 8.6 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.412en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาล--ไทยth_TH
dc.subjectความพอใจในการทำงาน--ไทยth_TH
dc.subjectสภาพแวดล้อมการทำงาน--ไทยth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มวัยและสภาพแวดล้อมที่ดึงดูดใจในการทำงานกับความสุขในการทำงานตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพth_TH
dc.title.alternativeRelationships between generations, magnetic work environment, and happiness at work as perceived by professional nurses in Bangkok hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.412en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive study were: (1) to investigate the level of happiness at work and magnetic work environment as perceived by professional nurses at Bangkok Hospital, (2) to compare happiness at work of professional nurses between Generation X and Generation Y, professional nurses between Generation X and Generation Y, (3) to study relationships between generations, magnetic work environment, and happiness at work, and (4) to examine the predictive power of generations and the magnetic work environment on happiness at work of professional nurses. The sample included 176 professional nurses who had worked at Bangkok Hospital for at least one year, and they were divided into two groups: Generation X and Generation Y. The stratified random sampling technique was employed. Two sets of questionnaires, covering magnetic work environment and happiness at work, were used as research tools. Both questionnaires were examined for content validity and reliability. The Cronbach’s alpha coefficients of the magnetic work environment and happiness at work were 0.919 and 0.917 respectively. Data were analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, independent t-test, chi-square test, Pearson product moment correlation, and stepwise multiple regression. The major findings were as follows. (1) Professional nurses rated their happiness at work at the medium level, and they rated their magnetic work environment at the high level. (2) Generation Y professional nurses rated their happiness at work significantly higher than those in Generation X (p < .05). (3) There were positive correlations between generations, magnetic work environment, and happiness at work of professional nurses (p < .05). Finally, (4) Magnetic work environment predicted happiness at work (p< .05), and this predictor accounted for 8.6% (/?2=8.6,p < .01).en_US
dc.contributor.coadvisorวรรณภา ประไพพานิชth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Nurse-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Thesbib139381.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.81 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons