Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2146
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีรัตน์ ประจนปัจจนึก, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชนินาฏ ลีดส์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุเมฆ จีรชัยสิริ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-14T03:53:48Z-
dc.date.available2022-11-14T03:53:48Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2146-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.(กฏหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี การปกครองในระบอบประชาธิปไตยกับการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและพัฒนาการในการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน 2. ศึกษาการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชนของประเทศไทยเปรียบเทียบกับของต่างประเทศ 3. วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคของการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชน และ 4. เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชนของประเทศไทย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสาร จากการค้นคว้าข้อมูลจากบทบัญญัติของกฎหมาย ประกอบหนังสือ เอกสาร บทความทางวิชาการ วารสารทางกฎหมาย วิทยานิพนธ์ ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต เอกสารวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งของประเทศไทยและของต่างประเทศ ผลการวิจัยพบว่า 1. ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยถือว่าประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย ได้มีการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมทางการเมืองโดยเฉพาะการมีสิทธิเสนอกฎหมายที่เป็นความต้องการของประชาชน 2. ในประเทศไทยมีการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าชื่อเสนอกฎหมายเช่นเดียวกับต่างประเทศ แต่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช 2560) จำกัดสิทธิของประชาชนในการเสนอกฎหมายได้เฉพาะที่เกี่ยวกับหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย และ หมวด 5 หน้าที่ของรัฐเท่านั้น ซึ่งในต่างประเทศไม่ได้มีการจำกัดสิทธิดังกล่าว 3. ปัญหาและอุปสรรคของการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชนมี 4 ประการสำคัญ ดังนี้ (1) ปัญหาความไม่สอดคล้องของพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2556 กับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช 2560) (2) ปัญหาการดำเนินการตามบทบัญญัติ มาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช 2560) (3) ปัญหาก่อนเข้าสู่กระบวนการพิจารณาร่างกฎหมายของฝ่ายนิติบัญญัติ และ (4) ปัญหาระหว่างการพิจารณาร่างกฎหมายของฝ่ายนิติบัญญัติ และ 4. เสนอแนะแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชนของประเทศไทยให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช 2560) ส่งเสริมและให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยเฉพาะกระบวนการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชนให้มากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสิทธิเสนอร่างกฎหมายth_TH
dc.subjectนิติบัญญัติ--ไทยth_TH
dc.titleปัญหาการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชนในกระบวนการนิติบัญญัติของประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeProblems on the initiative proposal by citizens in Thai legislative processth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study democratic concepts, theories and governance, the public initiative process and development of public participation in politics, to study the drafting of initiatives proposed by citizens in Thailand as compared to other countries, to analyze the problems and obstacles of drafting initiatives proposed by citizens and to recommend solutions to improve the laws related to drafting initiatives proposed by citizens in Thailand. In terms of methodology, this study is a qualitative research conducted through documentary research. The data were obtained from legal provisions, academic articles, legal journals, internet information and relevant research documents from domestic and international sources. The research findings were: 1. In democratic governance, sovereignty belongs to the people. It gives people political right to propose laws. 2. As well as other countries, there are opportunities in Thailand for its citizens to propose law. However, the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560 (2017) limits citizens’ right to propose law only those related to Chapter 3 and Chapter 5 of the constitution, which are about right and freedom of the Thai people and the duties of the state. Whereas in other countries, this kind of restriction do not appear at all 3. There are four major problems for submitting a Petition in order to introduce legislation: (1) inconsistency between the Initiative Process Act B.E. 2556 (2013) and the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560 (2017); (2) Implementation of the provisions under Article 77 of the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560 (2017); (3) Problems prior to the legislative process of debate and decision-making by the House; and (4) Problems during the legislative process of debate and decision-making by the House. And 4. Suggestions for an amendment of existing law to ensure consistency with the provisions under the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560 (2017), in order to promote and give greater importance to public participation, particularly throughout the process of legislative initiationen_US
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
163718.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons