Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2179
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมนต์ชัย พินิจจิตรสมุทร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนาถฤดี สุลีสถิร, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-15T03:12:46Z-
dc.date.available2022-11-15T03:12:46Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2179-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนามีวัตถุประสงค์เพี่อ 1) ศึกษาปัญหาและแนวทางการพัฒนาของ รูปแบบพฤติกรรมสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของพยาบาลวิชาชีพ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลยโสธร 2) พัฒนา รูปแบบพฤติกรรมสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของพยาบาลวิชาชีพ โดยใช้กระบวนการสุนทรียสนทนา และ 3) ศึกษาพฤติกรรมสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของพยาบาลวิชาชีพ ก่อนและหลังการพัฒนา กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) พยาบาลวิชาชีพแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลยโสธร 22 คน และ 2) ผู้ใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอกก่อนและหลังการใช้รูปแบบพฤติกรรมสัมพันธภาพระหว่างบุคคล กลุ่มละ 30 คน การวิจัยมี 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ศึกษาปัญหา โดยทบทวนวรรณกรรม อบรมพยาบาลวิชาชีพเรื่องสุนทรีย สนทนาและพฤติกรรมสัมพันธภาพระหว่างบุคคล สำรวจความพึงพอใจทั้งของผู้ใช้บริการและของพยาบาลวิชาชีพ ต่อพฤติกรรมสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของพยาบาลวิชาชีพ และประชุมกลุ่มเพี่อศึกษาปัญหาและแนวทางการ พัฒนารูปแบบด้วยกระบวนการสุนทรียสนทนา 2 ครั้ง ระยะที่ 2 พัฒนารูปแบบด้วยกระบวนการสุนทรียสนทนา 3 ครั้ง และระยะที่ 3 นำรูปแบบไปใช้ โดยอบรมการใช้รูปแบบฝึกปฏิบัติและปรับปรุงรูปแบบ แล้วนำมาปฏิบัติจริง 1 เดือน และเปรียบเทียบความพึงพอใจทั้งของผู้ใช้บริการและของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ วิจัย ได้แก่ 1) แนวทางการพัฒนาพฤติกรรมสัมพันธภาพระหว่างบุคคลโดยใช้กระบวนการสุนทรียสนทนา 2) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อพฤติกรรมสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของพยาบาลวิชาชีพ และ 3) แบบสอบถามพฤติกรรมสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของพยาบาลวิชาชีพ ตามการรับรู้ของตนเอง ความเที่ยงของ เครื่องมือ ชุดที่ 2 และ 3 เท่ากับ 0.95 และ 0.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติพรรณา สถิติทดสอบค่าที และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการจำเแนกและจัดระบบข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า (1) มีปัญหาของพฤติกรรรมสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของพยาบาลวิชาชีพ ตั้งแต่ ระยะเริ่มต้นกับผู้ใช้บริการ จนถึงระยะสรุปผล โดยปฏิบัติไม่ถูกต้องและไม่ครอบคลุม ซึ่งมีการเสนอแนวทางการ พัฒนารูปแบบตามปัญหาที่พบ (2) รูปแบบพฤติกรรรมสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของพยาบาลวิชาชีพ เป็นแบบ แผนการปฏิสัมพันธ์ของพยาบาลที่มีต่อผู้ป่วยตามทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของเพลบพลาว มี 4 ระยะ ได้แก่ ระยะเริ่มต้น ระยะระบุปัญหา ระยะแก้ไขปัญหา และระยะสรุปผล โดยผ่านการพัฒนาด้วยกระบวนการ สุนทรียสนทนาได้แก่ ฟังให้เข้าใจอย่างลึกซึ้ง ไตร่ตรองความคิด และนำเสนอความคิดใหม่ (3) ค่าเฉลี่ยของคะแนน ความพึงพอใจทั้งของผู้ใช้บริการและของพยาบาลวิชาชีพพฤติกรรรมสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของพยาบาลวิชาชีพ หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.305en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลของโรงพยาบาล -- ไทย -- ยโสธรth_TH
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบพฤติกรรมสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของพยาบาลวิชาชีพโดยใช้กระบวนการสุนทรียสนทนา แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลยโสธรth_TH
dc.title.alternativeThe development of an interpersonal relationship behavior model of professional nurses through a dialogue process at the out-patient department of Yasothon Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.305en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study research and development were:l) to analyze problems and guidelines of developing an interpersonal relationship behavior model of professional nurses at the Out-patient Department of Yasothon Hospital, 2) to create a new interpersonal relationship behaviors model through a dialogue process, and 3) to study the appropriateness of interpersonal relationship of professional nurses before and after developing the behavior model. The samples comprised 2 groups: 1) twenty two professional nurses who worked at the Out-patient Department of Yasothon Hospital, and 2) two groups of sixty patients (thirty each) before and after adopting the new model. The research consisted of three phases. First, study problems and guidelines of an interpersonal relationship behaviors by literature review, train nurses dialogue and interpersonal relationship behaviors, evaluate patients’ and professional nurses’ satisfaction with interpersonal relationship of professional nurses, and arrange a group meeting to explore problems and guidelines of creating the model by dialogue two times. Second, develop the model via dialogue three times. Third, implement the model through training, practicing, and refining the model before using the model for one month and compare the model before and after the development. Research tools consisted of 1) guidelines for developing the model, 2) patients’ satisfaction with professional nurses’ interpersonal relationship, and 3) professional nurses’ satisfaction with their interpersonal relationship behaviors. All research tools were done for content validity and reliability. The reliabilities of second and third were 0.95 and 0.96 respectively. The qualitative data were analyzed by descriptive statistics and t-test while the qualitative data analysis was done by typological analysis. The results of this study were as follows. (1) The problems of the interpersonal relationship behaviors of professional nurses revealed incorrect and incomplete manners from the orientation phase to the resolution phase, thus nurses suggested to develop the model based on those evolving problems.(2) The new model included interaction patterns between nurses and patients based on interpersonal relationship theory of Pleplau, and the model comprised 4 phases (orientation, identification, exploitation, and resolution) through three dialogue processes: deep listening, reflection, and advocacy.(3) Both patients’ satisfaction and professional nurses’ satisfaction with the behaviors of professional nurses were significantly higher than before the development at the level .05en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib144821.pdfเอกสารฉบับเต็ม25.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons