Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/217
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพาณี สีตกะลิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเชาวน์ โรจนแสง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิสุทธิ์ ศรีจันทราพันธุ์, 2503--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-03T08:39:00Z-
dc.date.available2022-08-03T08:39:00Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/217-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547th_TH
dc.description.abstractพยาบาลวิชาชีพเป็นบุคลากรที่มีความสําคัญต่อความสําเร็จของการให้บริการปฐมภูมิ การขยายการ จัดตั้งศูนย์สุขภาพชุมชนในจังหวัดลพบุรีนํามาซึ่่งปัญหาการบริหารจัดการบุคลากรและการปฏิบัติตามบทบาท หน้าที่ ของพยาบาลวิชาชีพ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจําแนกความคิดเห็นต่อการให้บริการปฐมภูมิ ระดับ ความสามารถในการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่่จากการประเมินตนเองของพยาบาลวิชาชีพ และบทบาทหน้าที่ด้าน ที่ต้องการการพัฒนา การศึกษาใช้รูปแบบการวิจัยแบบสํารวจเชิงพรรณนาดําเนินการเก็บข้อมูลจากพยาบาลวิชาชีพทุกคน ในศูนย์สุขภาพชุมชน จํานวน 104 คน พยาบาลวิชาชีพให้คะแนนตามความคิดเห็นต่อการให้บริการและ ความสามารถในการปฏิบัติงานของตนตามบทบาทหน้าที่ทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการทํางาน ร่วมกับผู้อื่น และด้านปฏิบัติการพยาบาลและวิชาการ ในแบบประเมินตนเองซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาเท่ากับ 0.95 ทําการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาเป็นค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าสัมประสิทธิ์ สหสมพันธ์เพียร์สัน และอีต้า ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นต่อคุณลักษณะการให้บริการปฐมภูมิโดยรวมอยู่ในระดับสูง 2) ความสามารถในการปฏิบัติตามบทบาทที่ประเมินตนเองว่าอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ บทบาทด้านการบริหาร จัดการเกี่ยวกับการประเมินแรงจูงใจในการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และการประเมินแหล่งประโยชน์และการกําหนดบทบาทในการช่วยเหลือบุคคลและครอบครัว บทบาทด้านปฏิบัติการพยาบาลและวิชาการเกี่ยวกับการ สร้างงานวิชาการและการนําผลงานวิชาการมาประยุกต์ใช้ และการใช้ข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกนั้นอยู่ในระดับสูง 3) ความคิดเห็นต่อคุณลักษณะให้บริการปฐมภูมิมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญในระดับต่ำกับภาระเลี้ยงดูบุตร และมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญในระดับปานกลาง กับ ความสามารถในการปฏิบัติตาม บทบาทหน้าที่ ข้อสรุปจากการวิจัยบ่งบอกถึงความจําเป็นในการเพิ่มพูนความสามารถด้านระเบียบวิธีการทางสุขศึกษาให้พยาบาลวิชาชีพ และการส่งเสริมศูนย์สุขภาพชุมชนให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่ตื่นตัวth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลค่ายประจักษ์ศิลปาคมth_TH
dc.subjectบริการสุขภาพ--การตัดสินใจth_TH
dc.titleกลยุทธ์การตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการสุขภาพ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลค่ายประจักษ์ศิลปาคม จังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeThe influence of the marketing strategy on the decision making of choosing health care services : a case study of fort Prachaksinlapakom Hospital, Udon thani provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeA professional nurse has an important role in the achievement of primary care service. The extension of Primary Care Unit ( PCU ) establishments in Lopburi province has brought about the problems of personnel management and the role practice of professional nurse. The objective of this study was to identify the professional nurse’s opinions about primary care service, the level of capabilities of role practice, and the role dimensions that need to be developed.A descriptive survey design was conducted with a totality of 104 profession nurse of all PCUs. They rated their opinions about primary care service and assesed their capabilities of role practice in three dimension: management, teamwork, and nursing and academic performance, in according to the self-assessment questionnaire (Cronbach’s alpha coefficient=.95).Descriptive statistics was used to analyze data into percentage, average, Pearson’s product-moment and Eta’s correlation coefficients.Major findings were 1) their opinions about primary care service as a whole were at high level; 2) their rated capabilities of role practice at moderate level were the dimension of management: assessing client’s motive to modify health behavior, evaluating community resources and defining their role in giving assistance to clients and families, and the dimension of nursing and academic performance: creating academic performance and applying it to routine practice, and utilizing effective information and technology, but other were at high level; 3)their opinions about primary care service correlated significantly with child rearing burden at low level, and with their capabilities of role practice at moderate level. In conclusion , there is a need for enhancing the professional nurse the capability of health education methodology and for promoting the PCU to be an active learning organizatioen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
88068.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons