Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2189
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิญญา วนเศรษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกิตติมา เครือฟู-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-15T08:27:15Z-
dc.date.available2022-11-15T08:27:15Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2189-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการใช้บริการธนาคารอิเล็คทรอนิกส์ 2) ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการธนาคารอิเล็คทรอนิกส์ 3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความต้องการใช้บริการธนาคารอิเล็คทรอนิกส์ ของธนาคารยูโอบี จากัด(มหาชน) การวิจัยครั้งนี้ กลุ่มประชากร คือ กลุ่มผู้ที่เข้ามาใช้บริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ ในการทำธุรกรรมทางด้านการเงินกับทางธนาคารยูโอบี จากัด (มหาชน) โดยใช้แบบสอบถาม และได้ทำการสุ่มเลือกมาเป็นกลุ่มตัวอย่าง ตามจุดมุ่งหมาย (Purposive Sampling) จำนวน 400 คน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิง มีอายุ 29 – 42 ปี สถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชนมีรายได้ต่อเดือน 50,000 บาท มีจำนวนมากที่สุด 1) พฤติกรรมของกลุ่มตัวอย่างใช้บริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ผ่านช่องทางโทรศัพท์มือถือมากที่สุด โดยการฝาก-ถอนเงินมีความถี่ในการทำธุรกรรมผ่านธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ต่อสัปดาห์ มากที่สุด 2 ครั้ง ช่วงเวลาที่ใช้บริการ มากที่สุดคือ 12:00 – 15:00 น. 2) ระดับความพึงพอใจที่มีต่อการใช้บริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ในด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการขาย ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการและ ด้านกายภาพในภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก ส่วนประเด็นย่อยในทุกด้านนั้นมีระดับ ความพึงพอใจมากเช่นกัน 3) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อาชีพ ช่วงอายุและระดับการศึกษา ที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการใช้บริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ในทุกประเด็นที่แตกต่างกัน สำหรับด้านสถานภาพที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการใช้บริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ในประเด็นต่าง ๆ ที่แตกต่างกัน สำหรับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความต้องการใช้บริการธนาคารอิเล็คทรอนิกส์ได้แก่ เพศ อาชีพ ช่วงอายุและระดับการศึกษา โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 68.50 และ ณ ระดับนัยสำคัญ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectธนาคารทางอินเทอร์เน็ตth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ธุรกิจth_TH
dc.titleพฤติกรรมการใช้บริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ ของลูกค้าธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน) สาขายูโอบี เวลท์แบงกิ้งเซ็นเตอร์ สยามพารากอนth_TH
dc.title.alternativeE-banking service at United Overseas Bank (Thai) Public Company Limited, Wealth Banking Centre, Siam Paragonth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research has objectives to study 1) consumer behaviors of e-banking service usage 2) To study satisfaction level of e-banking service usage 3) influencial factors toward needs of service usage of UOB e-banking (Public Company Limited). The population group of this research were the consumers who had the service usages of e-banking in financial transactions. with UOB ( public company limited) by conducting questionaires and choosing sample population by purposive sampling of 400 people. The results study found that the most service users in sample group were female, aged between 29-42 years old, single, had bacheler degree, were office workers and had monthly salary as 50,000 Baht per month. 1) The behaviours of this sample group, they always used the service of e-banking via mobile phones the most, with transactions of saving and withdrawal 2 times per week were the most, period of service usage of e-banking was at 12.00pm-15.00pm the most 2) The level of satisfaction for using e-banking services in product, pricing, place, promotion, people, process and physical environment were in the level of high satisfaction and for other sub-aspects were in the satisfaction level as well. 3) The personal factors such as gender, occupation, age and educaiton level, had different behaviours of service usages of e-banking in every aspect for different status. For the influential factors toward needs of service usage of e-banking were gender, occupation, age range and educaiton level which had the coefficient value was equal to 68.50 at the implied significance level of 0.05en_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159147.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons