Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2194
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พัชรี ผาสุข | th_TH |
dc.contributor.author | จิราธิวัฒน์ โยธารักษ์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-21T03:36:24Z | - |
dc.date.available | 2022-11-21T03:36:24Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2194 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการจองห้องพักของ ลูกค้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการจองห้องพักผ่านเว็บไซต์ตัวแทนรับจองห้องพักออนไลน์ของลูกค้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการใช้บริการเว็บไซต์ตัวแทนรับจองห้องพักออนไลน์ ประชากรที่ศึกษา คือ ประชาชนอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างทั้งเพศชายและเพศหญิงมีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติที่ใช้ในการศึกษา คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการถดถอยโลจิสติก ผลการศึกษาพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 61.6 ช่วงอายุ 27-42 ปี ร้อยละ 71.97 รายได้หลักและเสริมอยู่ในช่วง 15,001-30,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 68.94 และร้อยละ 80.56 ตามลำดับ อาชีพข้าราชการ / พนักงานรัฐวิสาหกิจ / พนักงานเอกชน ร้อยละ 50.00 ส่วนใหญ่รู้จักและเคยใช้บริการเว็บไซต์ตัวแทนรับจองห้องพักออนไลน์ (OTA) ร้อยละ 78.79 ชำระเงินโดยการธนาคารอินเทอร์เน็ต ร้อยละ 36.87 เว็บไซต์ที่ได้รับความนิยมสูงสุดคือเว็บไซต์ agoda.com ร้อยละ 52.88 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการจองห้องพักผ่านเว็บไซต์ OTA ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 คือ อายุ และ ช่องทางการจัดจำหน่าย โดยที่ลูกค้าที่มีอายุมากกว่า 43 ปี ขึ้นไป มีโอกาสในการเลือกใช้บริการเว็บไซต์ OTA จองห้องพัก สูงกว่าลูกค้าช่วงอายุ 27-42 ปี เท่ากับ 1.22 เท่า และถ้าเว็บไซต์ OTA เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่าย เช่น แอปพลิเคชันบนมือถือ แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย เป็นต้น จะทำให้โอกาสในการเลือกใช้บริการเว็บไซต์ OTA เพิ่มขึ้น 1.53 เท่า 3) ปัญหาและอุปสรรคของการใช้บริการ OTA คือ รูปถ่ายและข้อมูลต่างๆ ของห้องพัก ไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจจองห้องพักกับเว็บไซต์ OTA รองลงมาคือ หากเกิดปัญหาในการจอง หรือต้องการเปลี่ยนห้องพักทันที จะดำเนินการค่อนข้างยุ่งยากเนื่องจากต้องผ่านเว็บไซต์ OTA ก่อน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | โรงแรม--ระบบการจอง--ไทย--กรุงเทพฯ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อการจองห้องพักผ่านเว็บไซต์ตัวแทนรับจองห้องพักออนไลน์ของลูกค้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting accommodation booking selection through online travel agencies of customers in Bangkok Metropolitan Area | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to examine the consumer’s behavior for hotels booking in Bangkok and metropolitan areas (2) to examine the factors affecting to accommodation booking preference through online travel agencies (OTAs) of customers in Bangkok and metropolitan areas and (3) to examine the problems and obstacles of booking accommodation through OTAs. The study group was the population in Bangkok and metropolitan areas. The sample group for this study was 400 males and females with ages above 15 years old. The study data were collected by questionnaires. The statistical analysis for this study was frequency, percentage, average and logistic regression. The study results found that (1) From the sample group, customers were female as 61.6%, having age between 27-42 years as 71.97%, having primary incomes and extra incomes between 15,000-30,000 baht per month as 68.94% and 80.56% respectively, working as government officers or state enterprise employees as 50.00%, having knowledge of using OTAs as 78.79%, having accommodation purchasing through internet banking as 36.87% and the popular OTA was agoda.com as 52.88% (2) The factors affecting to customer on booking accommodation were the customer ages and distribution channels which were at the significant level of 0.05. Customers aged over 43 years had more opportunity 1.22 times to use OTAs for booking when compared with customers aged 27-42 years. The increasing distribution channels such as mobile applications and social media platforms would increase the opportunity of booking on OTAs by 1.53 times. (3) The problems and obstacles for using OTAs booking were photos and information of hotels on websites which were not enough to make a decision and it was inconvenient if any problem occurring on booking or if a customer would like to change any booking because customers could not change booking with hotels directly but through OTAs only. | th_TH |
Appears in Collections: | Econ-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
161370.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.98 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License