Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2197
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนูญ โต๊ะยามา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชฎา ทองแท้-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-21T06:36:17Z-
dc.date.available2022-11-21T06:36:17Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2197-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไป 2) โครงสร้างตลาด 3) พฤติกรรมการแข่งขัน และ 4) ปัญหาและอุปสรรคของอุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ในประเทศไทย การศึกษาใช้ข้อมูลปฐมภูมิโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากรผู้ผลิตฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ในประเทศไทยจำนวน 4 ราย จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงของบริษัท และรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ ที่เกี่ยวข้องในช่วงปี พ.ศ. 2553 – พ.ศ.2557 จากภาครัฐและเอกชน แล้วนำมาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณา และเชิงปริมาณ โดยการหาค่าการกระจุกตัว ดัชนีเฮอร์ฟินดาห์ล – เฮิส์ชแมน และดัชนีฮอร์วัธ ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพทั่วไปของอุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์แบบพกพาในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2553 – พ.ศ.2555 มีจำนวนผู้ประกอบการทั้งสิ้น 5 ราย แต่หลังจากปี พ.ศ. 2555 จนถึงปี พ.ศ. 2557 ลดลงเหลือ 4 ราย เพราะหนึ่งในบริษัทได้เข้าซื้อกิจการของบริษัทอื่นหนึ่งบริษัทอย่างสมบูรณ์ ส่งผลให้สินค้าที่ออกจำหน่ายสู่ตลาดภายใต้ชื่อของบริษัทที่ถูกซื้อหมดไปจากตลาดขายปลีกในประเทศไทย 2) โครงสร้างตลาดของอุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์แบบพกพาในประเทศไทยมีลักษณะแบบตลาดผู้ขาย น้อยราย โดยมีค่าการกระจุกตัวเท่ากับร้อยละ 67 ดัชนีเฮอร์ฟินดาห์ล – เฮิส์ชแมนเฉลี่ยเท่ากับ 0.36 และดัชนีฮอร์วัธเฉลี่ยเท่ากับ 0.73 3) พฤติกรรมการแข่งขันของอุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์แบบพกพาในประเทศไทยด้านราคามีบทบาทในปี พ.ศ. 2554 โดยบริษัทที่เป็นผู้จำหน่ายฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์แบบพกพาราคาสูงที่สุด ในตลาดได้ปรับลดราคาสินค้าของตนลงมาจนมีราคาใกล้เคียงกับคู่แข่งหลักเพื่อเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาด แต่หลังจากปี พ.ศ. 2555 เป็นต้นมา ไม่พบว่ามีพฤติกรรมการแข่งขันด้านราคา ส่วนพฤติกรรมการแข่งขันที่ไม่ใช่ด้านราคาที่มีบทบาทในอุตสาหกรรมนี้ที่สำคัญ ได้แก่ การแข่งขันด้านลักษณะของผลิตภัณฑ์ ระบบ การจัดจำหน่าย การส่งเสริมการตลาดและการโฆษณา และการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ และ 4) ปัญหาและอุปสรรคของอุตสาหกรรมฮาร์ดที่สำคัญ ได้แก่ เงินลงทุนที่ต้องใช้เงินทุนจำนวนมาก ผู้บริโภคที่จงรักภักดีต่อแบรนด์สินค้า และการจำหน่ายฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์เป็นสินค้าพ่วงกับคอมพิวเตอร์ของตนเองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์--การตลาดth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์--การตลาดth_TH
dc.subjectการแข่งขันทางการค้าth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ธุรกิจth_TH
dc.titleการวิเคราะห์โครงสร้างตลาดและพฤติกรรมการแข่งขันของอุตสาหกรรม ฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeAn analysis of the market structure and competition behavior of Harddisk Drive Industry in Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study: 1) the general situation; 2) market structure; 3) competition behavior; and 4) the problems and obstacles of hard disk drive industry in Thailand. The study used primary data collected from the population, through interviewing the top management, who produced hard disk drive in Thailand. The relevant secondary data during 2010 – 2014 were also gathered from both public and private agencies. Both descriptive and quantitative analyses were employed. For the quantitative method, the Concentration Ratio (CR), Customer Confidence Index (CCI), and Herfindahl - Hirschman Index (HHI) were applied. The research results were as follows. 1) The general situation of hard disk drive industry in Thailand during 2010 - 2012 consisted of 5 firms. However, after 2013 until 2014 the manufacturers were only 4 firms since one of them was taken over by another company. Consequently, the E brand products were out of the hard disk drive detail market in Thailand. 2) The market structure of the hard disk drive industry in Thailand was shown as an oligopoly market which the concentration ratio were 67%, 0.36 and 0.73 respectively. 3) Concerning price competition of the industry, it was found in 2011 because one of the firms sold its products at highest price in the market reduced its products’ price down to the level that was not much different from its major competitor. Since 2012, the price competition has not been found. For major non-price competition, the competitions via product characteristics, distribution process, market promotion and advertising and research and development efforts were discovered. Regarding main problems and obstacles, high investment capital requirement, consumer’s brand loyalty, and the package tie in sale of the companies’ hard disk drives with their own computers were revealed in this studyen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151355.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons