Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2200
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิญญา วนเศรษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฐานิสสรา ทองสมจิต-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-21T07:49:02Z-
dc.date.available2022-11-21T07:49:02Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2200-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนและเงินเฟ้อของประเทศไทยภายใต้กรอบทฤษฎีความเท่าเทียมกัน 2) ทดสอบความสัมพันธ์ดุลยภาพในระยะยาวของอัตราแลกเปลี่ยนและเงินเฟ้อของประเทศไทย 3) ศึกษาความเป็นเหตุเป็นผลของอัตราแลกเปลี่ยนและเงินเฟ้อของประเทศไทย การศึกษานี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ของ 2 ตัวแปรคือ เงินเฟ้อและอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศไทยเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นข้อมูลทุติยภูมิรายไตรมาสตั้งแต่ พ.ศ. 2545-2555 โดยใช้เครื่องมือทางเศรษฐมิติด้วยวิธีโคอินทิเกรชัน เพื่อให้ทราบถึงความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาวและทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนและเงินเฟ้อโดยวิธี Granger Causality เพื่อหาความสัมพันธ์ในลักษณะเชิงเป็นเหตุเป็นผล ผลการศึกษาพบว่า 1) ภายใต้กรอบทฤษฎีความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อนี้ พบว่าไม่มีความสอดคล้องกัน ตามทฤษฎีที่ได้กล่าวไว้ว่า ราคาสินค้าเปรียบเทียบของ 2 ประเทศเป็นตัวกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 2) การทดสอบความนิ่งของข้อมูลโดยวิธี Unit Root ของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและเงินเฟ้อ พบว่าข้อมูลทั้งสองชุดมีความนิ่งที่ผลต่างลำดับที่ I หรือ I (1) จากนั้นนำมาทดสอบความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาวพบว่า อัตราแลกเปลี่ยนและอัตราเงินเฟ้อมีความสัมพันธ์กันในเชิงดุลยภาพระยะยาว 3) การศึกษาความเป็นเหตุเป็นผลของตัวแปรพบว่า ดัชนีราคาผู้บริโภคของไทยและดัชนีราคาผู้บริโภคของสหรัฐอเมริกา มีผลต่อกันและกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 แต่ดัชนีราคาผู้บริโภคของไทยกับอัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อดอลลาร์ไม่มีความสัมพันธ์กัน ซึ่งไม่สนับสนุนตามที่ทฤษฎีความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอัตราแลกเปลี่ยนth_TH
dc.subjectเงินเฟ้อth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนและเงินเฟ้อของประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between exchange rate and inflation in Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to: 1) study the relationship between exchange rate and inflation in Thailand under the Purchasing Power Parity. 2) test the long run equilibrium relationship between exchange rate and inflation; and 3) test the causal ralationship between exchange rate and inflation in Thailand. The study focused on two variables, i.e. exchange rate and inflation in Thailand, secondary quarterly data from 2002 to 2012 were used. The econometric technique, cointegration was employed to investigate the long run equilibrium relationship between the exchange rate and inflation rate. Grenger Causality Method was also applied to explore the causality between the exchange rate and inflation. The results showed that: 1) the purchasing power parity did not hold in this study. Because exchange rate was not determined by the related prices in two countries. 2) For the unit root test of the exchange rate and inflated by Augmented Dickey Fuller test, there were not stationary in both valuable at their level. However, after the data were applied to do first difference, the results showed that both of them achieved stationary on I(1) process. For the long run relationship, the result showed that the exchange rate and inflation had a long run relationship. 3) A study on causal relationship showed that Thailand’s consumer price index and consumer price index of the United States had bidirectional effect at the 0.05 significant level, but no causal relation from consumer price index to exchange rate. It has only partial support of purchasing power parityen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
145817.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons