Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2202
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พัชรี ผาสุข | th_TH |
dc.contributor.author | ณรงพิสิษฐ์ วรวิวัฒน์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-21T08:17:59Z | - |
dc.date.available | 2022-11-21T08:17:59Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2202 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของการบริโภคพลังงานรายสาขาเศรษฐกิจของประเทศไทย (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคพลังงานรายสาขาเศรษฐกิจกับการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทย การศึกษาประกอบด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาและเชิงปริมาณ โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิรายปี พ.ศ. 2536-2560 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาเป็นการอธิบายสภาพทั่วไปของการบริโภคพลังงานรายสาขาเศรษฐกิจ และความเชื่อมโยงระหว่างการบริโภคพลังงานรายสาขาเศรษฐกิจกับการเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยใช้การวิเคราะห์เชิงปริมาณด้วยสมการถดถอยพหุคูณ ตรวจสอบความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาวและการปรับตัวระยะสั้น ผลการศึกษาพบว่า (1) สาขาเศรษฐกิจที่มีปริมาณการบริโภคพลังงานรวมเฉลี่ยย้อนหลัง 25 ปีสูงที่สุด คือ สาขาขนส่ง และน้ามันสาเร็จรูปเป็นประเภทพลังงานที่มีการบริโภคมากที่สุด การบริโภคพลังงานในสาขาธุรกิจการค้ามีอัตราการเพิ่มขึ้นสูงสุด เนื่องมาจากการเติบโตของภาคการส่งออกและภาคบริการการท่องเที่ยว การบริโภคพลังงานสาขาเกษตรกรรมมีประสิทธิภาพการใช้พลังงานสูงสุด ส่วนสาขาอุตสาหกรรมการผลิตและสาขาธุรกิจการค้าไม่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน การบริโภคพลังงานเกือบทุกสาขามีทิศทางแนวโน้มสอดคล้องกับการเติบโตทางเศรษฐกิจเศรษฐกิจยกเว้นสาขาก่อสร้าง (2) การบริโภคพลังงานรายสาขาเศรษฐกิจที่มีผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ ได้แก่ สาขาอุตสาหกรรมการผลิต สาขาธุรกิจการค้า และสาขาขนส่ง และเมื่อเกิดภาวะใด ๆ ในระยะสั้นที่ทาให้การเติบโตทางเศรษฐกิจเบี่ยงเบนออกจากดุลยภาพจะสามารถปรับตัวกลับเข้าสู่ดุลยภาพในระยะเวลา 4 เดือน 25 วัน หรือร้อยละ 39.97 ของระยะเวลาที่เบี่ยงออกจากดุลยภาพ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การใช้พลังงาน --พยากรณ์ | th_TH |
dc.subject | เศรษฐศาสตร์--แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ | th_TH |
dc.title | การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคพลังงานรายสาขาเศรษฐกิจกับการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Analysis of relationship between the energy consumption by economic sectors and economic growth of Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study are (1) to study the landscape of Thailand's energy consumption by economy branch, and (2) to study the relationship between the energy consumption by economic sectors and the economic growth of Thailand. This study consists of descriptive and quantitative data analysis. By using the secondary data collected during the year 1993-2017, the descriptive data analysis describes the landscape of energy consumption by economic sectors and the connection between energy consumption by economic sectors and economic growth. Quantitative data was analyzed by multiple regression, investigate the long-run stability and short-run adjustments of the model. The findings revealed that (1) in the last 25 years, transport sector consumed the highest average total energy, and petroleum is the most consumed energy resource. Energy consumption in commercial sector achieved the highest growth rate thanks to export and tourism service sectors. In the last 10 years, energy consumption in agricultural sector attained the rank of the highest efficiency, in contrast to the energy consumption in manufacturing sector and commercial sector which considered as inefficiency. Energy consumption in almost all economic sectors had an agreeable trend with economic growth, except in construction sector. (2) Energy consumption for manufacturing sector, commercial sector, and transport sector have a positive effect on economic growth of Thailand. For the short-run deviation from equilibrium point, the speed of adjustment of the economic growth to its equilibrium point within 4 months 25 days or 39.97% of the deviation period from equilibrium | en_US |
Appears in Collections: | Econ-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
161992.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 19.93 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License